φυβλαςのβλογ
phyblasのブログ



รวมฟอนต์อักษรตระกูลพราหมีที่บรรจุอยู่ในยูนิโค้ด
เขียนเมื่อ 2022/01/29 21:42
แก้ไขล่าสุด 2024/02/21 22:06
หน้านี้ไว้สำหรับรวมลิงก์สำหรับดาวน์โหลดฟอนต์สำหรับอักษรตระกูลพราหมีบางส่วนที่ถูกบรรยุลงในยูนิโค้ดแต่มีการใช้งานน้อยและมักจะไม่ได้ถูกลงอยู่ในเครื่องแต่แรก

สามารถคลิกที่ชื่อของแต่ละฟอนต์เพื่อไปยังลิงก์สำหรับดาวน์โหลดฟอนต์นั้นได้ หรือคลิกที่ชื่ออักษรหรือชื่อภาษานั้นๆเพื่อดูข้อมูลในหน้าวิกิพีเดีย







อักษรทิเบต
ใช้เขียน: ภาษาทิเบต
Unicode: U+0F00 – U+0FFF
BabelStone Tibetan Slim

བོད་སྐད་
Jomolhari

བོད་སྐད་
Yagpo Tibetan Sambhota Uni

བོད་སྐད་
Noto Sans Tibetan

བོད་སྐད་
Noto Serif Tibetan

བོད་སྐད་
Microsoft Himalaya
བོད་སྐད་



อักษรไบบายิน
ใช้เขียน: ภาษาตากาล็อก, ภาษาอีโลกาโน
Unicode: U+1700 – U+171F
Tagalog Stylized
ᜊᜌ᜔ᜊᜌᜒᜈ᜔
Baybayin Lopez
ᜊᜌ᜔ᜊᜌᜒᜈ᜔
Tagalog Doctrina 1593
ᜊᜌ᜔ᜊᜌᜒᜈ᜔
Noto Sans Tagalog
ᜊᜌ᜔ᜊᜌᜒᜈ᜔



อักษรฮานูโนโอ
ใช้เขียน: ภาษาฮานูโนโอ
Unicode: U+1720 – U+173F
Noto Sans Hanunoo
ᜱᜨᜳᜨᜳᜢ



อักษรบูฮิด
ใช้เขียน: ภาษาบูฮิด
Unicode: U+1740 – U+175F
Noto Sans Buhid
ᝊᝓᝑᝒ



อักษรตักบันวา
ใช้เขียน: ภาษาตักบันวา
Unicode: U+1760 – U+177F
Noto Sans Tagbanwa
ᝦᝪᝯ



อักษรลิมบู
ใช้เขียน: ภาษาลิมบู
Unicode: U+1900 – U+194F
Noto Sans Limbu
ᤕᤰᤌᤢᤱ ᤐᤠᤴ



อักษรไทใต้คง
ใช้เขียน: ภาษาไทใต้คง
Unicode: U+1950 – U+197F
Microsoft Tai Le
ᥖᥭᥰᥘᥫᥴ
Noto Sans Tai Le
ᥖᥭᥰᥘᥫᥴ



อักษรไทลื้อ
ใช้เขียน: ภาษาไทลื้อ
Unicode: U+1980 – U+19DF
Dai Banna SIL Book
ᦟᦲᧅᦷᦎᦑᦺᦟᦹᧉ
Noto Sans New Tai Lue
ᦟᦲᧅᦷᦎᦑᦺᦟᦹᧉ
Microsoft New Tai Lue
ᦟᦲᧅᦷᦎᦑᦺᦟᦹᧉ



อักษรล้านนา
ใช้เขียน: ภาษาล้านนา (ไทยเหนือ)
Unicode: U+1A20 – U+1AAF
Lamphun
ᩋᨠ᩠ᨡᩁᨵᩢᨾ᩠ᨾ᩺ᩃ᩶ᩣ᩠ᨶᨶᩣ ᩁᩂ ᨲ᩠ᩅᩫᨾᩮᩬᩥᨦ
A Tai Tham KH V3
ᩋᨠ᩠ᨡᩁᨵᩢᨾ᩠ᨾ᩺ᩃ᩶ᩣ᩠ᨶᨶᩣ ᩁᩂ ᨲ᩠ᩅᩫᨾᩮᩬᩥᨦ
Noto Sans Tai Tham
ᩋᨠ᩠ᨡᩁᨵᩢᨾ᩠ᨾ᩺ᩃ᩶ᩣ᩠ᨶᨶᩣ ᩁᩂ ᨲ᩠ᩅᩫᨾᩮᩬᩥᨦ
Lanna Alif
ᩋᨠ᩠ᨡᩁᨵᩢᨾ᩠ᨾ᩺ᩃ᩶ᩣ᩠ᨶᨶᩣ ᩁᩂ ᨲ᩠ᩅᩫᨾᩮᩬᩥᨦ



อักษรบาหลี
ใช้เขียน: ภาษาบาหลี
Unicode: U+1B00 – U+1B7F
Tantular Bali
ᬅᬓ᭄ᬱᬭᬩᬮᬶ
Aksara Bali Galang
ᬅᬓ᭄ᬱᬭᬩᬮᬶ
Noto Serif Balinese
ᬅᬓ᭄ᬱᬭᬩᬮᬶ
Noto Sans Balinese
ᬅᬓ᭄ᬱᬭᬩᬮᬶ



อักษรซุนดา
ใช้เขียน: ภาษาซุนดา
Unicode: U+1B80 – U+1BBF
Sundanese Unicode 2013
ᮃᮊ᮪ᮞᮛ ᮞᮥᮔ᮪ᮓ



อักษรบาตัก
ใช้เขียน: ภาษาบาตัก
Unicode: U+1BC0 – U+1BFF
Pangururan
ᯘᯮᯒᯖ᯲ ᯅᯖᯂ᯲
Noto Sans Batak
ᯘᯮᯒᯖ᯲ ᯅᯖᯂ᯲



อักษรเลปชา
ใช้เขียน: ภาษาเลปชา
Unicode: U+1C00 – U+1C4F
Noto Sans Lepcha
ᰛᰩᰵ



อักษรสิเลฏินาครี
ใช้เขียน: ภาษาเบงกอล
Unicode: U+A800 – U+A82F
Noto Sans Syloti Nagri
ꠍꠤꠟꠐꠤ ꠘꠣꠉꠞꠤ



อักษรพักปา
ใช้เขียน: ภาษามองโกล
Unicode: U+A840 – U+A877
BabelStone Phags-pa Book

ꡏꡡꡃ ꡣꡡꡙ ꡐꡜꡞ
Noto Sans PhagsPa

ꡏꡡꡃ ꡣꡡꡙ ꡐꡜꡞ
Microsoft PhagsPa

ꡏꡡꡃ ꡣꡡꡙ ꡐꡜꡞ



อักษรเสาราษฏร์
ใช้เขียน: ภาษาเสาราษฏร์
Unicode: U+A880 – U+A8DF
Noto Sans Saurashtra
ꢱꣃꢬꢵꢰ꣄ꢜ꣄ꢬ



อักษรเรอจัง
ใช้เขียน: ภาษาเรอจัง, ภาษามลายู
Unicode: U+A930 – U+A95F
Noto Sans Rejang
ꥆꤰ꥓ꤼꤽ ꤽꥍꤺꥏ



อักษรชวา
ใช้เขียน: ภาษาชวา
Unicode: U+A980 – U+A9DF
Javanese Text
ꦲꦏ꧀ꦱꦫꦗꦮ
Noto Sans Javanese
ꦲꦏ꧀ꦱꦫꦗꦮ



อักษรจาม
ใช้ใน: ภาษาจาม
Unicode: U+AA00 – U+AA5F
Noto Sans Cham
ꨀꨇꩉ ꨌꩌ



อักษรไทเวียด
ใช้เขียน: ภาษาไทดำ, ภาษาไทขาว, ภาษาไทโซ่ง
Unicode: U+AA80 – U+AADF
Tai Heritage Pro

ꪎꪳ ꪼꪕ
Noto Sans Tai Viet

ꪎꪳ ꪼꪕ



อักษรมณีปุระ
ใช้เขียน: ภาษามณีปุระ
Unicode: U+ABC0 – U+ABFF และ U+AAE0 – U+AAFF
Noto Sans Meetei Mayek
ꯃꯤꯇꯩ ꯃꯌꯦꯛ
Eeyek
ꯃꯤꯇꯩ ꯃꯌꯦꯛ
Nirmala UI
ꯃꯤꯇꯩ ꯃꯌꯦꯛ





อักษรพราหมี
ใช้เขียน: ภาษาสันสกฤต, ภาษาบาลี, ภาษาปรากฤต
Unicode: U+11000 – U+1107F
Segoe UI Historic
𑀩𑁆𑀭𑀸𑀳𑁆𑀫𑀻 𑀮𑀺𑀧𑀺
Noto Sans Brahmi
𑀩𑁆𑀭𑀸𑀳𑁆𑀫𑀻 𑀮𑀺𑀧𑀺



อักษรไกถี
ใช้เขียน: ภาษาอังคิกา, ภาษาอวัธ, ภาษามคธ, ภาษาโภชปุระ, ภาษาไมถิลี
Unicode: U+11080 – U+110CF
Noto Sans Kaithi
𑂍𑂶𑂟𑂲



อักษรจักมา
ใช้เขียน: ภาษาจักมา
Unicode: U+11100 – U+1114F
Noto Sans Chakma
𑄌𑄋𑄴𑄟𑄳𑄦 𑄃𑄧𑄏𑄛𑄖𑄴



อักษรมหาชนี
ใช้เขียน: ภาษาฮินดี
Unicode: U+11150 – U+1117F
Noto Sans Mahajani
𑅬𑅱𑅐𑅛𑅧𑅑



อักษรศารทา
ใช้เขียน: ภาษากัศมีร์
Unicode: U+11180 – U+111DF
Noto Sans Sharada
𑆯𑆳𑆫𑆢𑆳



อักษรโขชกี
ใช้เขียน: ภาษากัจฉิ
Unicode: U+11200 – U+1124F
Noto Sans Khojki
𑈉𑈲𑈐𑈈𑈮



อักษรมุลตานี
ใช้เขียน: ภาษาซะราอีกี
Unicode: U+11280 – U+112AF
Noto Sans Multani
𑊠𑊂𑊣𑊖𑊀𑊚𑊁



อักษรขุทาพาที
ใช้เขียน: ภาษาสินธี
Unicode: U+112B0 – U+112FF
Noto Sans Khudawadi
𑊻𑋩𑋣𑋏𑋠𑋔𑋠𑋏𑋢



อักษรครันถะ
ใช้เขียน: ภาษาทมิฬ
Unicode: U+11300 – U+1137F
Noto Serif Grantha
𑌗𑍍𑌰𑌨𑍍𑌥



อักษรปรัจลิต
ใช้เขียน: ภาษาเนวาร์
Unicode: U+11400 – U+1147F
Noto Sans Newa
𑐥𑑂𑐬𑐔𑐮𑐶𑐟 𑐣𑐾𑐥𑐵𑐮



อักษรติรหุตา (ไมถิลี)
ใช้เขียน: ภาษาไมถิลี
Unicode: U+11480 – U+114DF
Noto Sans Tirhuta
𑒞𑒱𑒩𑒯𑒳𑒞𑒰



อักษรสิทธัม
ใช้เขียน: ภาษาสันสกฤต, ภาษาบาลี
Unicode: U+11580 – U+115FF
Noto Sans Siddham
𑖭𑖰𑖟𑖿𑖠𑖽




อักษรโมฑี
ใช้เขียน: ภาษามราฐี
Unicode: U+11600 – U+1165F
Noto Sans Modi
𑘦𑘻𑘚𑘲



อักษรฏากรี
ใช้เขียน: ภาษาโฑครี
Unicode: U+11680 – U+116CF
Noto Sans Takri
𑚔𑚭𑚊𑚤𑚯



อักษรไทอาหม
ใช้เขียน: ภาษาอาหม
Unicode: U+11700 – U+1174F
Noto Serif Ahom
𑜒𑜑𑜪𑜨



อักษรโฑครี
ใช้เขียน: ภาษาโฑครี
Unicode: U+11800 – U+1184F
Noto Serif Dogra
𑠖𑠵𑠌𑠤𑠬



อักษรวรังจิติ
ใช้เขียน: ภาษาโฮ
Unicode: U+118A0 – U+118FF
Noto Sans Warang Citi
𑢹𑣗𑣁𑣜𑣊 𑣏𑣂𑣕𑣂



อักษรชญานวัชระ
ใช้เขียน: ภาษามองโกล
Unicode: U+11A00 – U+11A4F
BabelStone Zanabazar
𑨢𑨆𑨏𑨳𑨋𑨆𑨬𑨳
Noto Sans Zanabazar Square
𑨢𑨆𑨏𑨳𑨋𑨆𑨬𑨳



อักษรสวยัมภู
ใช้เขียน: ภาษามองโกล
Unicode: U+11A50 – U+11AAF
Noto Sans Soyombo
𑪁𑩖𑩻𑩖𑪌𑩰𑩖 𑩰𑩑𑩢𑩑𑪊‎



อักษรไภกษุกี
ใช้เขียน: ภาษาสันสกฤต
Unicode: U+11C00 – U+11C6F
Noto Sans Bhaiksuki
𑰥𑰹𑰎𑰿𑰬𑰲𑰎𑰱



อักษรมาร์เชน
ใช้เขียน: ภาษาซังซุง
Unicode: U+11C70 – U+11CBF
Noto Sans Marchen
𑲁𑲊𑱷‎𑲳𑱽



อักษรมาสารามโคนฑี
ใช้เขียน: ภาษาโคนฑี
Unicode: U+11D00 – U+11D5F
Noto Sans Masaram Gondi
𑴤𑴫𑴦𑴱𑴤 𑴎𑴽𑵀𑴘𑴳



อักษรคุนชลาโคนฑี
ใช้เขียน: ภาษาโคนฑี
Unicode: U+11D60 – U+11DAF
Noto Sans Gunjala Gondi
𑵶𑶍𑶕𑶀𑵵𑶊 𑵶𑶓𑶕𑶂𑶋



อักษรมากัซซาร์
ใช้เขียน: ภาษามากัซซาร์
Unicode: U+11EE0 – U+11EFF
Salapa Jangang
𑻪𑻢𑻪𑻢




-----------------------------------------

囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧

ดูสถิติของหน้านี้

หมวดหมู่

-- คอมพิวเตอร์
-- ภาษาศาสตร์ >> ตัวอักษร

ไม่อนุญาตให้นำเนื้อหาของบทความไปลงที่อื่นโดยไม่ได้ขออนุญาตโดยเด็ดขาด หากต้องการนำบางส่วนไปลงสามารถทำได้โดยต้องไม่ใช่การก๊อปแปะแต่ให้เปลี่ยนคำพูดเป็นของตัวเอง หรือไม่ก็เขียนในลักษณะการยกข้อความอ้างอิง และไม่ว่ากรณีไหนก็ตาม ต้องให้เครดิตพร้อมใส่ลิงก์ของทุกบทความที่มีการใช้เนื้อหาเสมอ

目次

日本による名言集
モジュール
-- numpy
-- matplotlib

-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
機械学習
-- ニューラル
     ネットワーク
javascript
モンゴル語
言語学
maya
確率論
日本での日記
中国での日記
-- 北京での日記
-- 香港での日記
-- 澳門での日記
台灣での日記
北欧での日記
他の国での日記
qiita
その他の記事

記事の類別



ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ

  記事を検索

  おすすめの記事

ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ

ไทย

日本語

中文