φυβλαςのβλογ
phyblasのブログ



opencv-python





opencv เป็นมอดูลที่มีฟังก์ชันหลากหลายในการเขียนโปรแกรมจัดการกับรูปภาพ ตัวฟังก์ชันเขียนด้วยภาษาซี แต่สามารถเรียกใช้ได้จากหลายภาษา รวมถึงไพธอน

สำหรับบทความต่อไปนี้จะแนะนำการใช้ opencv ในภาษาไพธอน โดยผ่านมอดูล opencv-python (หรือ cv2)

นอกจากมอดูล opencv-python แล้ว ยังต้องใช้มอดูล numpy และ matplotlib ควบคู่ไปด้วย จำเป็นต้องรู้เนื้อหา numpy และ matplotlib บางส่วน ซึ่งสามารถอ่านได้จากในหน้า >> numpy matplotlib



การจัดการรูปภาพด้วย opencv-python เบื้องต้น


ส่วนที่ ๑: การใช้งานเบื้องต้น

บทที่ ๑: บทนำ

บทที่ ๒: การอ่านเขียนไฟล์ภาพและแสดงภาพใน matplotlib
※ imread imwrite
บทที่ ๓: การประกอบรวมภาพ
※ add subtract absdiff multiply divide addWeighted
บทที่ ๔: การจัดการสี
※ cvtColor inRange split merge bitwise_not
บทที่ ๕: การเติมรูปร่างต่างๆลงไปในภาพ
※ rectangle line circle ellipse polylines fillConvexPoly putText
บทที่ ๖: การปรับขนาดและต่อเติมภาพ
※ resize flip copyMakeBorder


ส่วนที่ ๒: การปรับแต่งรูปภาพ

บทที่ ๗: การหมุนหรือบิดแปลงภาพ
※ warpAffine getRotationMatrix2D getAffineTransform warpPerspective getPerspectiveTransform
บทที่ ๘: ตัวกรองคอนโวลูชันและการทำภาพเบลอ
※ filter2D blur boxFilter GaussianBlur bilateralFilter medianBlur
บทที่ ๙: การใช้ตัวกรองเพื่อค้นหาหรือเน้นส่วนขอบ
※ Sobel Scharr Laplacian Canny
บทที่ ๑๐: การแบ่งขาวดำโดยพิจารณาตามความสว่าง
※ threshold adaptiveThreshold
บทที่ ๑๑: การวิเคราะห์ฮิสโตแกรมและปรับสมดุลสีภาพ
※ calcHist equalizeHist createCLAHE LUT
บทที่ ๑๒: การกร่อน พองตัว และแปลงสัณฐาน
※ erode dilate getStructuringElement morphologyEx


ส่วนที่ ๓: การแบ่งเขตภาพและเส้นเค้าโครง

บทที่ ๑๓: การหาเส้นเค้าโครง
※ findContours drawContours
บทที่ ๑๔: การยุบย่อหรือคลุมล้อมเค้าโครง
※ approxPolyDP convexHull isContourConvex convexityDefects minAreaRect boxPoints rotatedRectangleIntersection
บทที่ ๑๕: การวิเคราะห์องค์ประกอบของเส้นเค้าโครง
※ contourArea arcLength minMaxLoc boundingRect minEnclosingCircle fitEllipse fitLine moments pointPolygonTest matchShapes
บทที่ ๑๖: การแบ่งเขตภาพโดยพิจารณาส่วนที่เชื่อมต่อกัน
※ connectedComponents connectedComponentsWithStats distanceTransform watershed


ส่วนที่ ๔: การวิเคราะห์ค้นหาลักษณะเฉพาะหรือองค์ประกอบที่ต้องการภายในรูปภาพ

(ยังไม่ได้เขียน)


แหล่งข้อมูลอ้างอิง แสดง

目次

日本による名言集
モジュール
-- numpy
-- matplotlib

-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
機械学習
-- ニューラル
     ネットワーク
javascript
モンゴル語
言語学
maya
確率論
日本での日記
中国での日記
-- 北京での日記
-- 香港での日記
-- 澳門での日記
台灣での日記
北欧での日記
他の国での日記
qiita
その他の記事

記事の類別



ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ

  記事を検索

  おすすめの記事

ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ

ไทย

日本語

中文