φυβλαςのβλογ
phyblasのブログ



ทำความเข้าใจเรื่องแผ่นเยื่อบาง (thin film) ของ standardSurface ใน arnold ใน maya
เขียนเมื่อ 2021/09/23 00:12
แก้ไขล่าสุด 2021/10/23 19:08

ตัวเลือกปรับแต่งในส่วนของ thin film (薄膜) ในอาร์โนลด์นั้นใช้จำลองวัตถุที่มีเยื่อบางๆมาคลุมหุ้มอยู่ ทำให้เกิดการสะท้อนแสงเป็นสีสันสวยงาม



สำหรับโมเดลที่จะใช้ในตัวอย่างในคราวนี้คือชิรัตสึยุ (白露しらつゆ) (ที่มา https://3d.nicovideo.jp/works/td27680)




ความเปลี่ยนแปลงไปตามความหนาของเยื่อ

สำหรับแผ่นเยื่อบางนี้ตัวเลือกที่สามารถปรับได้ก็มีแค่ค่าดัชนีหักเหของเยื่อ (thinFilmIOR) กับความหนา ของเยื่อ (thinFilmThickness) นั่นเอง โดยหน่วยของความหนาคือนาโนเมตร (nm) ปกติแล้วค่าจะใส่อยู่ในช่วงหลักร้อย

ผลที่ได้นั้นจะขึ้นอยู่กับดัชนีหักเหแสงของตัววัตถุเอง (specularIOR) และตัวเยื่อ และความหนาของเยื่อ

ในที่นี้ลองให้ specularIOR=1.5 ให้ thinFilmIOR=1.1 แล้วเปลี่ยนค่าความหนาไปเรื่่อยๆตั้งแต่ 0 จนถึง 1000





ความเปลี่ยนแปลงไปตามดัชนีหักเหแสงของแผ่นฟิล์ม

นอกจากความหนาแล้ว ดัชนีหักเหแสงของตัวฟิลม์เองก็เป็นอีกตัวแปรที่มีผลต่อการสะท้อนผ่านเยื่อบาง

ในที่นี้ลองให้ specularIOR=1.5 คงที่แล้วปรับ thinFilmIOR ไปเรื่อยๆ เทียบความเปลี่ยนแปลงดู





ความเปลี่ยนแปลงไปตามดัชนีหักเหแสงของตัววัตถุ

นอกจากดัชนีหักเหแสงของตัวฟิลม์แล้ว การปรับดัชนีหักเหแสงของตัววัตถุเองก็มีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปมากเช่นกัน

ในที่นี้ลองให้ thinFilmIOR=1.5 คงที่แล้วปรับ specularIOR ไปเรื่อยๆ เทียบความเปลี่ยนแปลงดู





ความเปลี่ยนแปลงไปตามมุมของแสง

ลองให้ค่าต่างๆคงที่ แต่เปลี่ยนมุมที่แสงส่องเข้ามาไปเรื่อยๆ ดูความเปลี่ยนแปลง ในที่นี้ให้ thinFilmThickness=555





ความเปลี่ยนแปลงไปตามมุมที่มอง

ลองให้แสงส่องจากที่เดิมแล้วมองดูวัตถุที่มีเยือกหุ้มในมุมต่างๆกันไป ในที่นี้ให้ thinFilmThickness=444





เมื่อให้วัตถุโปร่งใสเหมือนฟองสบู่

ฟองสบู่อาจสามารถจำลองได้โดยทำวัตถุโปร่งใสที่มีแผ่นเยื่อบางล้อม

ลองให้วัตถุโปร่งใสทั้งหมด transmission=1, specularIOR=1.0, thinFilmThickness=270 แล้วปรับ thinFilmIOR ไปเรื่อยๆ







-----------------------------------------

囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧

ดูสถิติของหน้านี้

หมวดหมู่

-- คอมพิวเตอร์ >> 3D >> maya

ไม่อนุญาตให้นำเนื้อหาของบทความไปลงที่อื่นโดยไม่ได้ขออนุญาตโดยเด็ดขาด หากต้องการนำบางส่วนไปลงสามารถทำได้โดยต้องไม่ใช่การก๊อปแปะแต่ให้เปลี่ยนคำพูดเป็นของตัวเอง หรือไม่ก็เขียนในลักษณะการยกข้อความอ้างอิง และไม่ว่ากรณีไหนก็ตาม ต้องให้เครดิตพร้อมใส่ลิงก์ของทุกบทความที่มีการใช้เนื้อหาเสมอ

目次

日本による名言集
モジュール
-- numpy
-- matplotlib

-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
機械学習
-- ニューラル
     ネットワーク
javascript
モンゴル語
言語学
maya
確率論
日本での日記
中国での日記
-- 北京での日記
-- 香港での日記
-- 澳門での日記
台灣での日記
北欧での日記
他の国での日記
qiita
その他の記事

記事の類別



ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ

  記事を検索

  おすすめの記事

ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ

ไทย

日本語

中文