φυβλαςのβλογ
phyblas的博客



manim บทที่ ๒๐: การวาดเส้นกราฟและแผนภูมิแท่ง
เขียนเมื่อ 2021/03/13 12:28
แก้ไขล่าสุด 2021/09/28 16:42

ต่อจาก บทที่ ๑๙

หลังจากที่บทที่แล้วได้พูดถึงการวางระบบพิกัดลงบนภาพแล้ว ในบทนี้จะพูดถึงการวาดเส้นกราฟและแผนภูมิแท่งลงไป




การวาดเส้นกราฟ

ออบเจ็กต์ของแกนกราฟที่สร้างจากคลาส Axes มีเมธอด .get_graph() เอาไว้ใช้วาดกราฟของฟังก์ชันที่ต้องการ

ตัวอย่าง
import manimlib as mnm
import numpy as np
import math

class Manimala(mnm.Scene):
    def construct(self):
        axes = mnm.Axes(x_range=(-10,14,2),
                        y_range=(-7,7,2),
                        axis_config={'stroke_width':5,
                                     'stroke_color':'#c7e5ab'})
        axes.add_coordinate_labels()
        sengraph = axes.get_graph(lambda x: 0.0025*x**3-1,
                                  x_range=(-11,15,0.1),
                                  color='#abe0e5',
                                  stroke_width=15)
        self.add(axes)
        self.play(
            mnm.Write(sengraph),
            run_time=1
        )



ในที่นี้ x_range ใส่เป็น (x ต่ำสุด, x สูงสุด, ระยะห่างแต่ละจุด)

เมธอด .get_graph_label() เอาไว้เขียนข้อความลงบนกราฟที่วาด

ตัวอย่าง
import manimlib as mnm

class Manimala(mnm.Scene):
    def construct(self):
        axes = mnm.Axes(x_range=(-12,16,2),
                        y_range=(-9,8,2),
                        axis_config={'stroke_width':4,
                                     'stroke_color':'#e5c3ab'})
        axes.add_coordinate_labels()
        sengraph = axes.get_graph(lambda x: 0.004*x**3-0.05*x**2+4,
                                  x_range=(-11,15,0.1),
                                  color='#bce5ab',
                                  stroke_width=12)
        label = axes.get_graph_label(sengraph,r'\frac{x^3}{250}-\frac{x^2}{20}+4')
        self.add(axes,label)
        self.play(
            mnm.Write(sengraph),
            run_time=1
        )






FunctionGraph

คลาส FunctionGraph เอาไว้สร้างกราฟของฟังก์ชันที่ต้องการลงบนพิกัดของตำแหน่งภายในภาพ

ตัวอย่าง
import manimlib as mnm
import numpy as np

class Manimala(mnm.Scene):
    def construct(self):
        axes = mnm.NumberPlane() # ใส่กราฟพิกัดตำแหน่งในภาพ
        axes.add_coordinate_labels()
        # วาดกราฟในระบบพิกัดตำแหน่งในภาพขึ้นมา ๓​ เส้น
        sengraph = mnm.VGroup(mnm.FunctionGraph(np.sin),
                              mnm.FunctionGraph(lambda x:np.cos(x)*2+x/2,
                                                stroke_width=10,
                                                color='#99bbdd'),
                              mnm.FunctionGraph(lambda x:np.exp(x)/6-x/2-3))
        
        self.add(axes)
        self.play(
            mnm.Write(sengraph),
            run_time=1,
            lag_ratio=0.5
        )






ParametricCurve

คลาส ParametricCurve ใช้วาดกราฟที่มีค่าพิกัดเป็น x(t),y(t),z(t) โดย t เป็นตัวแปรหนึ่งที่ไล่ค่าในช่วงของเขตที่กำหนด (กำหนดของเขตที่คีย์เวิร์ด t_range)

ฟังก์ชันที่จะใช้กับ ParametricCurve คือฟังก์ชันที่รับตัวแปร t มาแล้วคืนค่าเป็นอาเรย์ของค่า [x,y,z] (ในที่นี้แสดง ๒​ มิติจะใช้แค่ x,y)

ตัวอย่าง
import manimlib as mnm
import numpy as np

class Manimala(mnm.Scene):
    def construct(self):
        axes = mnm.NumberPlane()
        axes.add_coordinate_labels()
        def f1(t):
            return np.array([2*np.sin(t*12)-4.75,3*np.cos(t*5),0])
        def f2(t):
            return np.array([2*np.cos(t*7),3.25*np.cos(t*12),0])
        def f3(t):
            return np.array([2*np.sin(t*13)+4.75,3.5*np.sin(t*9),0])
        def f4(t):
            return np.array([6*np.cos(t),2.5*np.sin(t),0])
        t_range = [0,np.pi*2,np.pi/100]
        sengraph = mnm.VGroup(mnm.ParametricCurve(f1,t_range,color='#ff6666'),
                              mnm.ParametricCurve(f2,t_range,color='#66ff66'),
                              mnm.ParametricCurve(f3,t_range,color='#6666ff'),
                              mnm.ParametricCurve(f4,t_range))
        
        self.add(axes)
        self.play(
            mnm.Write(sengraph),
            run_time=1,
            lag_ratio=0.2
        )






BarChart

คลาส BarChart ใช้วาดแผนภูมิแท่ง

ตัวอย่างการใช้
import manimlib as mnm
import numpy as np

class Manimala(mnm.Scene):
    def construct(self):
        axes = mnm.BarChart(np.linspace(0.1,2,14)**0.5,
                            width=12,
                            height=6,
                            n_ticks=7,
                            max_value=1.4,
                            bar_colors=['#99ff99','#c093d5'],
                            bar_fill_opacity=0.6,
                            bar_stroke_width=5,
                            bar_names='abcdefghijklmn')
        self.add(axes)
        # วาดแผนภูมิแท่ง
        self.play(
            mnm.Write(axes),
            run_time=1
        )
        # ปรับค่าแต่ละแท่งภายหลัง
        self.play(
            axes.animate.change_bar_values(np.zeros(14)),
            run_time=1
        )








-----------------------------------------

囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧

ดูสถิติของหน้านี้

หมวดหมู่

-- คอมพิวเตอร์ >> เขียนโปรแกรม >> python >> manim

ไม่อนุญาตให้นำเนื้อหาของบทความไปลงที่อื่นโดยไม่ได้ขออนุญาตโดยเด็ดขาด หากต้องการนำบางส่วนไปลงสามารถทำได้โดยต้องไม่ใช่การก๊อปแปะแต่ให้เปลี่ยนคำพูดเป็นของตัวเอง หรือไม่ก็เขียนในลักษณะการยกข้อความอ้างอิง และไม่ว่ากรณีไหนก็ตาม ต้องให้เครดิตพร้อมใส่ลิงก์ของทุกบทความที่มีการใช้เนื้อหาเสมอ

目录

从日本来的名言
模块
-- numpy
-- matplotlib

-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
机器学习
-- 神经网络
javascript
蒙古语
语言学
maya
概率论
与日本相关的日记
与中国相关的日记
-- 与北京相关的日记
-- 与香港相关的日记
-- 与澳门相关的日记
与台湾相关的日记
与北欧相关的日记
与其他国家相关的日记
qiita
其他日志

按类别分日志



ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ

  查看日志

  推荐日志

ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ