φυβλαςのβλογ
บล็อกของ phyblas



ตัวเลข ๐ ถึง ๙ ในอักษรชนิดต่างๆ
เขียนเมื่อ 2022/05/31 10:53
แก้ไขล่าสุด 2023/04/26 20:59
ทุกวันนี้ตัวเลขที่นิยมใช้เป็นสากลไปทั่วโลกนั้นคือเลขอารบิก คือ 0123456789 ซึ่งใช้ฐานสิบ มีความเรียบง่าย เขียนสั้นเข้าใจง่าย ต่างจากตัวเลขโรมัน I II III IV ... ที่ใช้ในสมัยโรมันโบราณที่มีความยุ่งยากซับซ้อนจนแม้แต่ทางยุโรปเองก็เลิกใช้ไปแล้ว

แต่ว่านอกจากเลขอารบิกแล้วยังมีตัวเลขอีกหลายชนิดที่ใช้ระบบฐานสิบเช่นนี้ มีความเรียบง่ายเช่นกัน แค่เขียนต่างกันเท่านั้นเอง เช่นเลขไทยซึ่งใช้ในภาษาไทย แค่แทนตัวเลขตั้งศูนย์ถึงเก้าด้วย ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ที่เหลือวิธีเขียนเหมือนกันหมด

ไม่ใช่แค่ไทยเท่านั้น แต่ยังมีภาษาอื่นอีกมากมายที่มีตัวเลขเป็นของตัวเอง โดยใช้ระบบฐานสิบนี้เช่นกัน ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นภาษาที่ใช้อักษรในตระกูลอักษรพราหมี ซึ่งก็มีรากเดียวกับเลขอารบิกที่เราคุ้นเคยนั่นเอง

นอกจากนี้เลขจีนเองก็ใช้ฐานสิบเช่นกัน เพียงแต่ว่ามีการเขียนเลขสิบ ร้อย พัน หมื่น ที่ต่างออกไปจากพวกเลขอารบิก

ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างพวกตัวเลขที่ใช้ในอักษรชนิดต่างๆที่เป็นประเภทเดียวกันกับเลขอารบิกและเลขไทย

ในจำนวนนี้มีอักษรหลายชนิดที่ไม่ค่อยได้ใช้ทั่วไปและอาจไม่มีฟอนต์ทำให้อ่านไม่ได้ หากต้องการให้อ่านได้อาจลองโหลดฟอนต์เหล่านั้นได้จากหน้านี้ https://phyblas.hinaboshi.com/20220129

อนึ่ง สาเหตุที่ตัวเลขเขมรหน้าตาเหมือนเลขไทย อธิบายไว้ในนี้ https://www.facebook.com/5129101933853445

อารบิก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ไทย
เขมร
ลาว
ล้านนา
พม่า
ไทลื้อ
ไทอาหม 𑜰 𑜱 𑜲 𑜳 𑜴 𑜵 𑜶 𑜷 𑜸 𑜹
จักมา 𑄶 𑄷 𑄸 𑄹 𑄺 𑄻 𑄼 𑄽 𑄾 𑄿
จาม
ชวา
บาหลี
ทิเบต
มองโกล
พราหมี 𑁦 𑁧 𑁨 𑁩 𑁪 𑁫 𑁬 𑁭 𑁮 𑁯
เทวนาครี
คุชราต
คุรมุขี
เบงกอล
กันนาดา
โอริยา
มลยาฬัม
ทมิฬ
เตลูกู
สิงหล
มณีปุระ
เสาราษฏร์
ศารทา 𑇐 𑇑 𑇒 𑇓 𑇔 𑇕 𑇖 𑇗 𑇘 𑇙
คุนชลาโคนฑี 𑶠 𑶡 𑶢 𑶣 𑶤 𑶥 𑶦 𑶧 𑶨 𑶩
ปรัจลิต 𑑐 𑑑 𑑒 𑑓 𑑔 𑑕 𑑖 𑑗 𑑘 𑑙
ติรหุตา 𑓐 𑓑 𑓒 𑓓 𑓔 𑓕 𑓖 𑓗 𑓘 𑓙
โมฑี 𑙐 𑙑 𑙒 𑙓 𑙔 𑙕 𑙖 𑙗 𑙘 𑙙
ขุทาพาที 𑋰 𑋱 𑋲 𑋳 𑋴 𑋵 𑋶 𑋷 𑋸 𑋹
ฏากรี 𑛀 𑛁 𑛂 𑛃 𑛄 𑛅 𑛆 𑛇 𑛈 𑛉
ไภกษุกี 𑱐 𑱑 𑱒 𑱓 𑱔 𑱕 𑱖 𑱗 𑱘 𑱙
เลปชา
ลิมบู
สันถาลี
จีน


-----------------------------------------

囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧

ดูสถิติของหน้านี้

หมวดหมู่

-- ภาษาศาสตร์ >> ตัวอักษร
-- ภาษาศาสตร์ >> เรียนภาษา

ไม่อนุญาตให้นำเนื้อหาของบทความไปลงที่อื่นโดยไม่ได้ขออนุญาตโดยเด็ดขาด หากต้องการนำบางส่วนไปลงสามารถทำได้โดยต้องไม่ใช่การก๊อปแปะแต่ให้เปลี่ยนคำพูดเป็นของตัวเอง หรือไม่ก็เขียนในลักษณะการยกข้อความอ้างอิง และไม่ว่ากรณีไหนก็ตาม ต้องให้เครดิตพร้อมใส่ลิงก์ของทุกบทความที่มีการใช้เนื้อหาเสมอ

สารบัญ

รวมคำแปลวลีเด็ดจากญี่ปุ่น
มอดูลต่างๆ
-- numpy
-- matplotlib

-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
การเรียนรู้ของเครื่อง
-- โครงข่าย
     ประสาทเทียม
ภาษา javascript
ภาษา mongol
ภาษาศาสตร์
maya
ความน่าจะเป็น
บันทึกในญี่ปุ่น
บันทึกในจีน
-- บันทึกในปักกิ่ง
-- บันทึกในฮ่องกง
-- บันทึกในมาเก๊า
บันทึกในไต้หวัน
บันทึกในยุโรปเหนือ
บันทึกในประเทศอื่นๆ
qiita
บทความอื่นๆ

บทความแบ่งตามหมวด



ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ

  ค้นหาบทความ

  บทความแนะนำ

ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ

บทความแต่ละเดือน

2024年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2023年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2022年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2021年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2020年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

ค้นบทความเก่ากว่านั้น

ไทย

日本語

中文