φυβλαςのβλογ
บล็อกของ phyblas



maya

หน้านี้เป็นสารบัญรวมข้อมูลเนื้อหาเกี่ยวกับโปรแกรม Autodesk Maya ซึ่งเขียนไว้ทั้งหมดในบล็อกนี้ เนื้อหาส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการเขียนโค้ดภาษา python


แบบจำลองห้องในหอพักมหาวิทยาลัยชิงหัว สร้างด้วยมายา (รายละเอียด)


maya python เบื้องต้น

บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อเป็นพื้นฐานให้กับคนที่อยากจะเขียนโค้ดเพื่อใช้ในโปรแกรมมายาเพื่อจะสามารถใช้งานอะไรต่างๆได้ เหมาะสำหรับคนที่
- มีความรู้พื้นฐานด้านการเขียนโปรแกรมมาบ้างแล้ว อาจไม่จำเป็นต้องเป็นภาษาไพธอนก็ได้
- มีพื้นฐานโปรแกรมมายาอยู่แล้วบ้าง ไม่จำเป็นต้องรู้ลึก แต่อย่างน้อยต้องเข้าใจว่าควบคุมอะไรบนหน้าจออย่างไร
- กำลังไม่รู้จะเริ่มต้นจากตรงไหนดี

เนื้อหาจะไม่ได้เรียงตามหมวดหมู่อย่างเป็นระเบียบ แต่จะเรียงข้ามหมวดไปมาเพื่อให้สามารถทำความเข้าใจได้ไปเรื่อยๆทีละขั้น
ผู้เขียนไม่ได้เรียนทางด้านคอมพิวเตอร์หรือออกแบบกราฟิกมา อาศัยศึกษาด้วยตัวเอง ดังนั้นอาจละเลยบางแง่มุมไป จะเขียนจากมุมมองของตัวเอง เน้นที่ตัวเองเห็นว่าได้ใช้งานเป็นหลักมากกว่า
เนื้อหาเรียบเรียงจากประสบการณ์ตรงในการใช้ และข้อมูลอ้างอิงจากเว็บญี่ปุ่นเป็นหลัก


บทที่ ๑: บทนำ

บทที่ ๒: การสร้างรูปทรงพื้นฐาน
※ polyCube(); polySphere(); delete()
บทที่ ๓: การจัดวางวัตถุ
※ move()
บทที่ ๔: การทำซ้ำและตั้งเงื่อนไข
※ (พื้นฐาน python)
บทที่ ๕ : การสร้างโค้ดให้ทำงานเมื่อเริ่มโปรแกรม

บทที่ ๖ : การเลือกวัตถุ และการตั้งชื่อ
※ select(); rename()
บทที่ ๗: การใช้ลิสต์
※ (พื้นฐาน python)
บทที่ ๘: โครงสร้างรูปทรงแบบต่างๆ
※ polyCylinder(); polyCone(); polyPrism(); polyPyramid(); polyPlane(); polyTorus(); polyHelix()
บทที่ ๙: ค่าคืนกลับของฟังก์ชันในมายา

บทที่ ๑๐: ค่าองค์ประกอบต่างๆ และการปรับแก้ค่า
※ getAttr(); setAttr(); listAttr()
บทที่ ๑๑: การทำซ้ำด้วย for
※ (พื้นฐาน python)
บทที่ ๑๒: การทำภาพเคลื่อนไหวโดยใช้คีย์เฟรม
※ setKeyframe(); currentTime(); keyTangent(); selectKey()
บทที่ ๑๓: การทำภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่องไปเรื่อยๆ
※ setInfinity(); playbackOptions()
บทที่ ๑๔: การใช้ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
※ (พื้นฐาน python)
บทที่ ๑๕: การทำภาพเคลื่อนไหวด้วยเอ็กซ์เพรชชัน
※ expression()
บทที่ ๑๖: การหมุน
※ rotate()
บทที่ ๑๗: การปรับขนาดมาตราส่วน
※ scale(); makeIdentity()
บทที่ ๑๘: การรวมกลุ่ม
※ group(); ungroup()
บทที่ ๑๙: ความสัมพันธ์แบบพ่อแม่ลูก
※ parent(); spaceLocator()
บทที่ ๒๐: การตัดแต่งส่วนประกอบของโพลิกอน
※ polyEvaluate()
บทที่ ๒๑: การวิเคราะห์และคัดกรองส่วนประกอบของโพลิกอน
※ xform()
บทที่ ๒๒: การรวมและแยกโพลิกอน
※ polyUnite(); polyMergeFacet(); polySeparate()
บทที่ ๒๓: การสร้างและเพิ่มโพลิกอนจากจุด
※ polyCreateFacet(); polyAppend(); polyAppendVertex()
บทที่ ๒๔: แปลงรูปโพลิกอนอย่างอิสระด้วยการดันยื่นเข้าออก
※ polyExtrudeFacet()
บทที่ ๒๕: การปรับเส้นขอบโค้งมน
※ polyBevel()
บทที่ ๒๖: การสุ่ม
※ (พื้นฐาน python)
บทที่ ๒๗: การใส่สี
※ shadingNode(asShader=1); hyperShade()
บทที่ ๒๘: การใช้ดิกชันนารี
※ (พื้นฐาน python)
บทที่ ๒๙: การสร้างไอคอนบนเชลฟ์

บทที่ ๓๐: ทำความเข้าใจกับโครงสร้างโหนด
※ nodeType(); ls(); listConnections(); listRelatives()
บทที่ ๓๑: การสร้างเส้นโค้ง NURBS
※ curve(); circle()
บทที่ ๓๒: การสร้างพื้นผิว NURBS
※ nurbsPlane(); nurbsCube(); cylinder(); sphere(); cone(); torus(); nurbsToPoly(); nurbsToPolygonsPref()
บทที่ ๓๓: การสานพื้นผิวขึ้นจากเส้นโค้ง NURBS
※ loft()
บทที่ ๓๔: การใส่ภาพบนพื้นผิว NURBS
※ shadingNode('file',at=1); shadingNode('place2dTexture',au=1); connectAttr(); defaultNavigation()
บทที่ ๓๕: การใส่ภาพบนพื้นผิวโพลิกอน
※ polyProjection()
บทที่ ๓๖: การทำลายพื้นผิว
※ shadingNode('ramp',at=1)
บทที่ ๓๗: การทำพื้นผิวนูนเว้า
※ shadingNode('bump2d',au=1)
บทที่ ๓๘: การแต่งแสงและเงา
※ shadingNode(al=1); directionalLight()
บทที่ ๓๙: แสงแบบต่างๆ
※ spotLight(); pointLight(); ambientLight()
บทที่ ๔๐: การสำเนาวัตถุ
※ duplicate()
บทที่ ๔๑: การทำเบลนด์เชป
※ blendShape(); aliasAttr()

เนื้อหาเสริม

⊟ [2016/01/16] ลง numpy, scipy และชุดคำสั่งเสริมต่างๆใน maya
⊟ [2017/01/30] การลบโหนดวัสดุและเท็กซ์เจอร์ที่ไม่ใช้ทิ้งให้หมด
⊟ [2017/03/24] การใช้วัสดุ mia เพื่อจำลองวัสดุที่สมจริง
⊟ [2017/04/15] การสร้างวัสดุที่สมจริงโดยใช้ aiStandard ของ arnold


ลองทำดู

⊟ [2016/03/01] หอคอยฮานอย
⊟ [2016/09/13] วิมานพระอินทร์
⊟ [2017/02/07] การผจญภัยของอควาในเมืองร้าง
⊟ [2017/02/17] จิโนะ มายะ เมงุ チノ・マヤ・メグ
⊟ [2017/02/20] ร่มกระดาษน้ำมันจีน
⊟ [2017/03/19] แก้วไวน์ใส่น้ำ
⊟ [2017/08/10] เรือพินป่านโจว (tatala) ของชาวต๋าอู้ในไต้หวัน
⊟ [2017/11/09] แบบจำลองห้องหอพัก 鴻齋 มหาวิทยาลัยชิงหัว
⊟ [2018/02/25] แพนเค้กเต่าแพนเค้ก


อื่นๆ

⊟ [2017/02/21] mmdpaimaya เวอร์ชัน 1.0
⊟ [2017/05/07] mmdpaimaya เวอร์ชัน 1.2
⊟ [2017/04/09] ลองเปลี่ยนมาใช้ maya 2017 และเรนเดอร์ด้วย arnold
⊟ [2018/03/01] คำอธิบายโปรแกรม mmdpaimaya (เวอร์ชัน 2.0)


สารบัญ

รวมคำแปลวลีเด็ดจากญี่ปุ่น
มอดูลต่างๆ
-- numpy
-- matplotlib

-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
การเรียนรู้ของเครื่อง
-- โครงข่าย
     ประสาทเทียม
ภาษา javascript
ภาษา mongol
ภาษาศาสตร์
maya
ความน่าจะเป็น
บันทึกในญี่ปุ่น
บันทึกในจีน
-- บันทึกในปักกิ่ง
-- บันทึกในฮ่องกง
-- บันทึกในมาเก๊า
บันทึกในไต้หวัน
บันทึกในยุโรปเหนือ
บันทึกในประเทศอื่นๆ
qiita
บทความอื่นๆ

บทความแบ่งตามหมวด



ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ

  ค้นหาบทความ

  บทความแนะนำ

ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ

บทความแต่ละเดือน

2024年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2023年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2022年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2021年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2020年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

ค้นบทความเก่ากว่านั้น

ไทย

日本語

中文