φυβλαςのβλογ
บล็อกของ phyblas
ทวีต
mongol
บทความชุดนี้เป็นการสรุปรวบรวมความรู้ภาษามองโกลที่ได้ทำการเรียนรู้มาด้วยตัวเอง โดยจะเริ่มตั้งแต่เรื่องตัวอักษรและการออกเสียง และอธิบายไวยากรณ์ไปเรื่อยๆทีละขั้น
สำหรับภาพรวมของภาษามองโกลอ่านได้ที่บทความ >>
ทำความรู้จักกับภาษามองโกล
ภาษามองโกลเบื้องต้น
บทที่ ๑: เริ่มต้นกันที่เรื่องการอ่านออกเสียง
※ а э и о у ү ө я е ё ю ы б п м ф д т н р л г к х ж ч ш з ц с в й
บทที่ ๒: สรุปตัวอักษรซีริลลิกและว่าด้วยเรื่องอักษรมองโกล
※ монгол ᠮᠣᠩᠭᠣᠯ
บทที่ ๓: ประโยคที่สร้างจากการแค่เอาคำนามมาวางต่อกัน
※
บทที่ ๔: กระบวนการกลมกลืนเสียงสระและเรื่องของสระกลุ่มหน้ากลางหลัง
※ | эүө | и | аоу |
บทที่ ๕: ประโยคคำถามแบบให้ตอบว่าใช่หรือไม่
※ уу үү юу юү тийм тиймээ үгүй
บทที่ ๖: การผันและใช้กริยารูปปัจจุบันอนาคต
※ -х -на -нэ -но -нө
บทที่ ๗: การใช้คำคุณศัพท์ขยายคำนาม
※
บทที่ ๘: คำสรรพนามแทนผู้พูดผู้ฟังและสรรพนามชี้เฉพาะ
※ би бид та чи энэ тэр
บทที่ ๙: การผันและใช้คำนามรูปกรรมตรง
※ -ийг -ыг
บทที่ ๑๐: การทำเป็นประโยคปฏิเสธ
※ биш -гүй
บทที่ ๑๑: การผันและใช้คำนามรูปเจ้าของ
※ -ий -ы -ийн -ын
บทที่ ๑๒: การผันและใช้คำกริยารูปอดีต
※ -сан -сэн -сон -сөн -лаа -лээ -лоо -лөө -жээ -чээ -в
บทที่ ๑๓: จำนวนตัวเลข
※ нэг хоёр гурав дөрөв тав зургаа долоо найм ес арав зуу мянга сая
บทที่ ๑๔: คำสรรพนามแสดงคำถาม
※ бе ве аль ямар хэд хичнээн хэр хэдий юу хэн хэзээ хаана хэрхэн яах
บทที่ ๑๕: การผันและใช้คำนามรูปเป้าหมาย
※ -д -т
บทที่ ๑๖: การผันและใช้คำกริยารูปกำลังทำ
※ байна байсан байлаа байжээ байв
บทที่ ๑๗: ประโยคปฏิเสธในรูปอดีต
※ -аагүй -ээгүй -оогүй -өөгүй -сангүй -сэнгүй -сонгүй -сөнгүй
บทที่ ๑๘: คำวางหลังคำนามรูปประธาน
※ гаруй шахам орчим болтол хүртэл гэхэд бүр ёсоор мэт
บทที่ ๑๙: การผันและใช้คำนามรูปที่มา
※ -аас -өөс -ээс -оос
บทที่ ๒๐: การผันและใช้คำกริยารูปทำเป็นปกติ
※ -даг -дэг -дог -дөг
บทที่ ๒๑: คำวางหลังคำนามรูปเจ้าของ
※ тулд хувьд эсрэг хооронд чинээ турш дагуу хажуу дотор гадаа цаана урд өмнө ард хойно
บทที่ ๒๒: การผันและใช้คำนามรูปวิธีการ
※ -аар -өөр -ээр -оор
บทที่ ๒๓: การผันและใช้คำกริยารูปขยายคำนาม
※ -х -сан -сэн -сон -сөн -даг -дэг -дог -дөг -аа -ээ -оо -өө
บทที่ ๒๔: การสร้างคำที่แสดงจำนวนหลาย
※ -ууд -үүд -ид нар
บทที่ ๒๕: การผันและใช้คำนามรูปร่วมกัน
※ -тай -той -тэй
บทที่ ๒๖: คำวางหลังคำนามที่ผันเป็นรูปต่างๆ
※ ойр бусад өөр нааш цааш хол хойш болж зэрэг адил
บทที่ ๒๗: การเติมหางคำนามที่อาจผันแล้วต่ออีกเพื่อให้เป็นรูปทำกับตัว
※ -аа -өө -оо -өө
บทที่ ๒๘: การบอกว่าชอบหรือไม่ชอบ
※ дуртай дургүй
บทที่ ๒๙: การผันและใช้คำกริยารูปทำเสร็จแล้ว
※ -сан -сэн -сон -сөн байна байсан байжээ байлаа
บทที่ ๓๐: การผันและใช้คำนามรูปทิศทาง
※ руу рүү луу лүү
บทที่ ๓๑: หางเติมใส่รูปเจ้าของเพื่อแสดงว่าเป็นของของใคร
※ минийх манайх таных танайх тэднийх хэнийх
บทที่ ๓๒: การผันและใช้คำกริยารูปทำต่อจากกันไป
※ -ч -ж -аад -ээд -оод -өөд бөгөөд -хгүйгээр -лгүй
บทที่ ๓๓: การพูดถึงคำนามพร้อมกันหลายตัวไปด้วยกัน
※ болон ба
บทที่ ๓๔: ความสอดคล้องระหว่างกริยากับรูปผันของคำนาม
※
บทที่ ๓๕: การสร้างประโยคความซ้อน
※
บทที่ ๓๖: การใช้สรรพนามแสดงคำถามในเชิงบอกเล่าหรือปฏิเสธ
※ ч
บทที่ ๓๗: การผันและใช้กริยารูปทำซ้ำๆติดต่อกัน
※ -саар -сээр -соор -сөөр -аад -ээд -оод -өөд
บทที่ ๓๘: การบอกว่าอยากทำหรือทำได้หรือควรทำ
※ -маар -мээр -моор -мөөр -хуйц -хүйц -ууштай -үүштэй
บทที่ ๓๙: คำช่วยวางหลังเพื่อบอกว่ามีความเกี่ยวพันหรือเป็นของกัน
※ минь маань чинь тань нь
บทที่ ๔๐: ประโยคคำสั่งหรือเรียกร้อง
※ -дээ -аач -ээч -ооч -өөч -арай -эрэй -орой -гтун -гтүн өгөөрэй өгөөч
บทที่ ๔๑: ประโยคขอร้องหรือเร่งเร้า
※ -на_уу -нэ_үү -но_уу -нө_үү өгөх_үү за_юу мэдэв_үү
บทที่ ๔๒: ประโยคสั่งห้ามหรืออนุญาต
※ битгий бүү болохгүй хориглоно болно
บทที่ ๔๓: การสร้างคำที่มีความหมายว่าผู้ทำหรืออุปกรณ์ทำอะไร
※ -гч
บทที่ ๔๔: การบอกว่ามีอยู่หรือขาดอะไรไป
※ -тай -тэй -той -гүй байна алга бий байхгүй
บทที่ ๔๕: เมื่อคำคุณศัพท์ถูกใช้เป็นคำนาม
※
บทที่ ๔๖: การบอกลำดับตัวเลข
※ -дугаар -дүгээр -р
บทที่ ๔๗: การบอกวันเวลา
※ жил он сар хоног өдөр цаг минут секунд хагас
บทที่ ๔๘: การยกคำพูดอ้างอิง
※ гэж
บทที่ ๔๙: ประโยคอุทาน
※ ямар яасан юм_бэ юм_байна
บทที่ ๕๐: สกรรมกริยาและการทำอกรรมกริยาให้เป็นรูปให้กระทำ
※ -уулах -үүлэх -лгах -лгэх -лгох -лгөх -гах -гэх -гох -гөх -аах -ээх -оох -өөх
บทที่ ๕๑: การทำสกรรมกริยาให้เป็นรูปให้กระทำ
※
บทที่ ๕๒: คำกริยารูปถูกกระทำ
※ -гдах -гдэх -гдох -гдөх
เนื้อหาที่เขียนในนี้ทั้งหมดเรียบเรียงมาจากหนังสือและเว็บไซต์ภาษาญี่ปุ่น
แหล่งข้อมูลอ้างอิง
東京外国語大学言語モジュール モンゴル語
ニューエクスプレスプラス モンゴル語 橋本勝
モンゴル語のしくみ 温品廉三
三
~ เกี่ยวกับเรา ~
สารบัญ
รวมคำแปลวลีเด็ดจากญี่ปุ่น
ภาษา python
มอดูลต่างๆ
-- numpy
-- matplotlib
-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
การเรียนรู้ของเครื่อง
-- โครงข่าย
ประสาทเทียม
ภาษา javascript
ภาษา mongol
ภาษาศาสตร์
maya
ความน่าจะเป็น
บันทึกในญี่ปุ่น
บันทึกในจีน
-- บันทึกในปักกิ่ง
-- บันทึกในฮ่องกง
-- บันทึกในมาเก๊า
บันทึกในไต้หวัน
บันทึกในยุโรปเหนือ
บันทึกในประเทศอื่นๆ
qiita
บทความอื่นๆ
บทความแบ่งตามหมวด
==เลือกหมวด==
ดาราศาสตร์
คณิตศาสตร์
-ความน่าจะเป็น
คอมพิวเตอร์
-เขียนโปรแกรม
--python
---numpy
---scipy
---matplotlib
---pandas
---manim
---pyqt
---sklearn
---pytorch
---mayapython
--ruby
--javascript
--dart
--MATLAB
--SQL
--regex
--opencv
-shell
-3D
--maya
--MMD
-microsoft_office
-pdf
-ปัญญาประดิษฐ์
--โครงข่ายประสาทเทียม
--สเตเบิลดิฟฟิวชัน
---comfyui
-การสุ่ม
ภาษาศาสตร์
-ตัวอักษร
-เรียนภาษา
-หลักเกณฑ์การทับศัพท์
-ภาษาจีน
--ภาษาจีนกลาง
-ภาษาญี่ปุ่น
-ภาษามองโกล
-ภาษาลาว
-ภาษาเขมร
ประวัติศาสตร์
-ประวัติศาสตร์จีน
-ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
ปรัชญา
ประเทศจีน
-จีนแผ่นดินใหญ่
--ปักกิ่ง
--เทียนจิน
--เหลียวหนิง
--เหอเป่ย์
--เหอหนาน
--ซานตง
--ซานซี
--อานฮุย
--เจ้อเจียง
--หูเป่ย์
--หูหนาน
--ฝูเจี้ยน
--กวางตุ้ง
---แต้จิ๋ว
--ยูนนาน
--ซินเจียง
-ฮ่องกง
-มาเก๊า
-ไต้หวัน
--ไทเป
--จีหลง
--เถาหยวน
--ซินจู๋
--เหมียวลี่
--ไถจง
--จางฮว่า
--หยวินหลิน
--เจียอี้
--ไถหนาน
--เกาสยง
--ผิงตง
--อี๋หลาน
ประเทศญี่ปุ่น
-ฮกไกโด
-อาโอโมริ
-อิวาเตะ
-มิยางิ
-อากิตะ
-ยามางาตะ
-ฟุกุชิมะ
-อิบารากิ
-โทจิงิ
-กุมมะ
-ไซตามะ
-จิบะ
-โตเกียว
-คานางาวะ
-นีงาตะ
-โทยามะ
-อิชิกาวะ
-ฟุกุอิ
-ยามานาชิ
-นางาโนะ
-กิฟุ
-ชิซึโอกะ
-ไอจิ
-มิเอะ
-ชิงะ
-เกียวโต
-โอซากะ
-เฮียวโงะ
-นาระ
-วากายามะ
-โอกายามะ
-ฮิโรชิมะ
-ยามางุจิ
-ฟุกุโอกะ
-ซางะ
-นางาซากิ
-คุมาโมโตะ
-โออิตะ
ต่างแดน
-อุษาคเนย์
--กัมพูชา
--พม่า
--สิงคโปร์
-ยุโรป
--สวีเดน
--เดนมาร์ก
--ฟินแลนด์
-ออสเตรเลีย
ท่องเที่ยว
-มหาวิทยาลัย
-พิพิธภัณฑ์
--พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
--หอศิลป์
-สวนสัตว์
--พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ
-ท้องฟ้าจำลอง
-ตึกระฟ้า
-ปราสาท☑
--ปราสาทญี่ปุ่น
--ปราสาทขอม
--ปราสาทยุโรป
-ศาสนสถาน
--วัด
--ศาลเจ้า
--โบสถ์
--มัสยิด
-สุสาน
-มรดกโลก
-ทะเล
-ทะเลสาบ
-ภูเขา
-ภูเขาไฟ
-หิมะ
-ดอกซากุระ
-แมว
-รถไฟ
-เรือ
-ตลาดกลางคืน
-งานเทศกาล
-ที่ระลึกภัยพิบัติ
-ตามรอย
-ราเมง
บันเทิง
-เกม
--อาเตอลีเย
--โปเกมอน
--caligula
--vn
-อนิเมะ
-มังงะ
-นิยาย
-เพลง
--เพลงอนิเมะ
--เพลงเกม
เรื่องแต่ง
บันทึก
ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ
ค้นหาบทความ
บทความล่าสุด
เดินเล่นแถวย่านจายามะและทาจิมะในเขตโจวนังใจกลางเมืองฟุกุโอกะในวันบรรลุนิติภาวะ
วันที่หิมะแรกตกในฟุกุโอกะ 10 มกราคม 2025
รอต่อแถวยาว ๒ วันเพื่อกินราเมงร้านดัง เมนยะคาเนโตระ ในย่านเทนจิงใจกลางเมืองฟุกุโอกะ
เดินหาร้านไปทั่วย่านเมย์โนฮามะและอุจิฮามะที่เงียบเหงาในวันปีใหม่ เจอแต่ความว่างเปล่า
วันปีใหม่ไปฮัตสึโมวเดะที่ศาลเจ้าวาชิโอะอาตาโงะในเขตนิชิของเมืองฟุกุโอกะ
บทความแนะนำ
รวมร้านราเมงในเมืองฟุกุโอกะ
ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ
บทความแต่ละเดือน
2025年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2024年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2023年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2022年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2021年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
ค้นบทความเก่ากว่านั้น
ไทย
日本語
中文