φυβλαςのβλογ
บล็อกของ phyblas



พิพิธภัณฑ์ปรสิตวิทยาเมงุโระและศาลเจ้าโอโตริที่อยู่ข้างๆ
เขียนเมื่อ 2023/01/09 00:52
แก้ไขล่าสุด 2023/07/01 20:10
# ศุกร์ 6 ม.ค. 2023

หลังจากที่ตอนที่แล้วได้ไปเที่ยววัดริวเซงในย่านชิตาเมงุโระ (下目黒しためぐろ) ในเขตเมงุโระ (目黒区) มา https://phyblas.hinaboshi.com/20230108

จากตรงทางออกด้านหลังวัดริวเซง เดินต่อมาตามซอยไปทางเหนืออีกหน่อย



จนมาถึงปากซอย ออกสู่ถนนเมงุโระ (目黒通めぐろどおり)



ก็จะเจอพิพิธภัณฑ์ปรสิตวิทยาเมงุโระ (目黒寄生虫館めぐろきせいちゅうかん)




พิพิธภัณฑ์ปรสิตวิทยาเมงุโระเป็นพิพิธภัณฑ์เล็กๆแห่งหนึ่งในชิตาเมงุโระเขตเมงุโระของโตเกียว เปิดตั้งแต่ปี 1953 โดยแพทย์ชาวญี่ปุ่นผู้เชี่ยวชาญด้านปรสิตวิทยา ชื่อคาเมไง ซาโตรุ (亀谷かめがい さとる, ปี 1907-2002) สถานที่ตั้งอยู่ในชั้น ๑ และ ๒ ของตึก พื้นที่จัดแสดงไม่มาก ไม่มีค่าเข้าชม

ห้องจัดแสดงในส่วนชั้นแรก



ในนี้มีปรสิตชนิดต่างๆที่แช่ฟอร์มาลินไว้






มีป้ายเขียนอธิบายให้ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง




จากนั้นขึ้นด้านบนไปชั้น ๒



ห้องจัดแสดงในส่วนชั้น ๒



ที่นี่ก็มีตัวอย่างปรสิตต่างๆพร้อมป้ายอธิบาย






แบบจำลองโครงสร้างของปรสิต




ตรงนี้จัดแสดงเกี่ยวกับวามางุจิ ซาจู (山口やまぐち 左仲さちゅう, ปี 1894-1976) นักปรสิตวิทยาที่โดดเด่นของญี่ปุ่น





ป้ายนี้แนะนำนักปรสิตวิทยาที่มีชื่อเสียงของญี่ปุ่นอีกหลายคน



ด้านในสุดเป็นมุมขายของ



การเข้าชมด้านในก็จบลงเท่านี้ เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีขนาดเล็กจริงๆ เดินแป๊บเดียวก็เสร็จแล้ว

หลังจากนั้นเดินออกมาแล้วไปทางตะวันออก ที่นี่มีศาลเจ้าเล็กๆแห่งหนึ่งชื่อศาลเจ้าโอโตริ (大鳥神社おおとりじんしゃ) เลยถือโอกาสแวะเข้าไปชมด้วย



ปากทางเข้าด้านตะวันตกของศาลเจ้า




ภายในบริเวณศาลเจ้า





ตัวอาคารหลัก



ส่วนด้านในมีศาลเจ้าอินาริ (稲荷神社いなりじんじゃ) ขนาดเล็กอยู่



เสร็จแล้วก็เดินออกมาจากประตูฝั่งตะวันออกของศาลเจ้า ออกมาโผล่ที่ถนนยามาเตะ (山手通やまてどおり)



การเที่ยวชมในศาลเจ้าก็จบลงแค่นี้ หลังจากนั้นเรายังเดินต่อขึ้นไปทางเหนือเพื่อไปเที่ยวสถานที่อื่นต่อไป



-----------------------------------------

囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧

ดูสถิติของหน้านี้

หมวดหมู่

-- ประเทศญี่ปุ่น >> โตเกียว
-- ท่องเที่ยว >> ศาสนสถาน >> ศาลเจ้า
-- ท่องเที่ยว >> พิพิธภัณฑ์ >> พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์

ไม่อนุญาตให้นำเนื้อหาของบทความไปลงที่อื่นโดยไม่ได้ขออนุญาตโดยเด็ดขาด หากต้องการนำบางส่วนไปลงสามารถทำได้โดยต้องไม่ใช่การก๊อปแปะแต่ให้เปลี่ยนคำพูดเป็นของตัวเอง หรือไม่ก็เขียนในลักษณะการยกข้อความอ้างอิง และไม่ว่ากรณีไหนก็ตาม ต้องให้เครดิตพร้อมใส่ลิงก์ของทุกบทความที่มีการใช้เนื้อหาเสมอ

สารบัญ

รวมคำแปลวลีเด็ดจากญี่ปุ่น
มอดูลต่างๆ
-- numpy
-- matplotlib

-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
การเรียนรู้ของเครื่อง
-- โครงข่าย
     ประสาทเทียม
ภาษา javascript
ภาษา mongol
ภาษาศาสตร์
maya
ความน่าจะเป็น
บันทึกในญี่ปุ่น
บันทึกในจีน
-- บันทึกในปักกิ่ง
-- บันทึกในฮ่องกง
-- บันทึกในมาเก๊า
บันทึกในไต้หวัน
บันทึกในยุโรปเหนือ
บันทึกในประเทศอื่นๆ
qiita
บทความอื่นๆ

บทความแบ่งตามหมวด



ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ

  ค้นหาบทความ

  บทความแนะนำ

ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ

บทความแต่ละเดือน

2024年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2023年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2022年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2021年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2020年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

ค้นบทความเก่ากว่านั้น

ไทย

日本語

中文