φυβλαςのβλογ
บล็อกของ phyblas
ทวีต
หออนุสรณ์ยุทธการผิงจิน
เขียนเมื่อ 2015/10/08 13:39
แก้ไขล่าสุด 2021/09/28 16:42
#พฤหัส 18 มิ.ย. 2015
หลังจากที่ชมบ้านกระเบื้องเคลือบเสร็จไปแล้ว
https://phyblas.hinaboshi.com/20151006
เราก็นั่งรถไฟฟ้าเพื่อเดินทางมายังสถานที่เป้าหมายต่อไปคือ
หออนุสรณ์ยุทธการผิงจิน (平津战役纪念馆, ผิงจินจ้านอี้จี้เนี่ยนกว่าน)
ก่อนหน้านี้เคยไปเที่ยว
หออนุสรณ์ยุทธการเหลียวเสิ่น (辽沈战役纪念馆, เหลียวเสิ่นจ้านอี้จี้เนี่ยนกว่าน)
ซึ่งอยู่ที่เมือง
จิ่นโจว (锦州)
มาก่อนแล้ว
ในตอนนั้นได้เล่าถึงสงครามครั้งสำคัญระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์และก๊กมินตั๋งในช่วง 1945 - 1949 ไปแล้ว
ยุทธการผิงจิน (平津战役)
เป็นหนึ่งในสามยุทธการใหญ่ (三大战役, ซานต้าจ้านอี้) ซึ่งประกอบด้วยยุทธการเหลียวเสิ่น, ยุทธการหวยไห่ และยทธการผิงจิน ตามลำดับ
ยุทธการหวยไห่เองก็มี
หออนุสรณ์ยุทธการหวยไห่ (淮海战役纪念馆, หวยไห่จ้านอี้จี้เนี่ยนกว่าน)
ตั้งอยู่ที่เมือง
สวีโจว (徐州)
มณฑลเจียงซู ก็น่าสนใจเหมือนกันถ้าหากได้ไปที่นั่นด้วยก็ครบสามเลย แต่คงไม่มีโอกาสได้ไปถึงที่นั่นเพราะว่าค่อนข้างไกล ที่พอจะไปได้ง่ายที่สุดก็คือหออนุสรณ์ยุทธการผิงจินนี้เพราะอยู่ที่เทียนจินซึ่งใกล้แค่นี้เดินทางได้ง่าย
สำหรับยุทธการผิงจินนั้นเป็นยุทธการที่เกิดหลังสุด โดยเกิดขึ้นไล่เลี่ยกันกับยุทธการหวยไห่และเป็นสงครามที่ต่อเนื่องมาจากยุทธการเหลียวเสิ่น
ต้นเดือนพฤศจิกายน 1948 หลังจากที่กองทัพปลดปล่อยที่นำโดยหลินเปียว (林彪) และหลัวหรงหวน (罗荣桓) สามารถยึดภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้หมดในยุทธการเหลียวเสิ่น จึงเป็นการปูทางไปสู่การบุกยึดเมืองในภาคเหนือต่อไป
ยุทธการผิงจินเริ่มต้นขึ้นปลายเดือนพฤศจิกายน 1948 สมรภูมิของสงครามอยู่ที่ปักกิ่ง, เทียนจิน และจางเจียโข่ว โดยในสมัยนั้นเมืองปักกิ่งมีชื่อว่าเป่ย์ผิง (北平) ดังนั้นจึงเรียกชื่อยุทธการว่าผิงจิน (平津) ซึ่งย่อมาจากเป่ย์ผิงและเทียนจิน
สงครามจบลงในเดือนมกราคมปี 1949 กองทัพผลดปล่อยของพรรคคอมมิวนิสต์ได้รับชัยชนะและยึดปักกิ่ง เทียนจิน อีกทั้งเมืองรอบๆมาได้ทั้งหมด เป็นความสูญเสียครั้งใหญ่ของฝ่ายก๊กมินตั๋ง รวมเข้ากับความเสียหายจากยุทธการหวยไห่ซึ่งจบไปก่อนหน้าไม่นานก็ทำให้แทบไม่เหลือความหวังที่จะพลิกสถานการณ์ได้อีกต่อไปแล้ว
เพื่อเป็นที่ระรึกถึงสงครามครั้งนี้จึงมีการสร้างหออนุสรณ์ขึ้นมาที่เมืองเทียนจิน หออนุสรณ์นี้ถูกเริ่มสร้างขึ้นในปี 1995 และสร้างเสร็จเปิดให้เข้าชมได้ในปี 1997 ตั้งอยู่ในเขตหงเฉียว (红桥) ซึ่งค่อนไปทางตะวันตกเฉียงเหนือของตัวเมือง ใกล้กับสถานีรถไฟ
สถานีตะวันตกเทียนจิน (天津西站)
การเดินทางมาถึงนี่สามารถนั่งรถไฟฟ้ามาได้โดยต้องเดินต่ออีกหน่อย สามารถลงที่
สถานีหงหูหลี่ (洪湖里站)
หรือ
สถานีฉินเจี่ยนเต้า (勤俭道站)
ก็ได้ อยู่บนรถไฟฟ้าสาย 1 ทั้งคู่ หากไม่อยากเดินไกลก็สามารถนั่งรถเมล์มาลงป้าย
จี๋ผิงหลี่ (集平里)
เราลงที่สถานีหงหูหลี่และถือโอกาสเติมตังค์บัตรด้วยเพราะนี่เป็นครั้งสุดท้ายแล้วที่จะได้อยู่ในสถานีรถไฟฟ้าสาย 1 บัตรนี้ไม่สามารถเติมได้ที่สถานีของสายอื่น เติมไป ๒๐ หยวนซึ่งที่จริงถือว่าเผื่อเยอะไปหน่อย แต่ก็ไม่เป็นไรเพราะตั้งใจจะเก็บบัตรนี้ไว้เป็นที่ระลึกเผื่อในอนาคตจะกลับมาอีก
เรามาลงที่สถานีหงหูหลี่
จากตรงนี้ต้องเดินตากแดดเพื่อจะไปให้ถึง
เริ่มเห็นป้ายที่บอกให้รู้ว่าอีกไม่ไกล
เลี้ยวขวาไปก็เป็น
ถนนผิงจิน (平津道)
ซึ่งเป็นถนนเลียบริม
แม่น้ำจื่อหยา (子牙河)
ที่จะพาไปถึงที่หมาย
ริมน้ำเป็นสวนริมน้ำไปตามทาง
เดินเลียบริมน้ำไปเรื่อยๆก็มาถึงที่หมายจนได้
แถวๆทางเข้ามีรถถังประดับอยู่เต็มไปหมด
ทางเข้าเข้าทางนี้ เขาจะมีการตรวจสัมภาระนิดหน่อย แค่นั้น ไม่มีค่าใช้จ่ายในการเข้าชม
เข้ามาเดินด้านใน
เต็มไปด้วยอาวุธเก่าซึ่งเขาตั้งทิ้งเอาไว้ให้คนทั่วไปที่สนใจลองมาจับมาเล่นได้
รูปปั้นของหยางเต๋อจื้อ (杨得志) อดีตทหารคนหนึ่ง
เรือรบ
รูปปั้นเหล่าทหารกล้า
ด้านล่างมีอธิบายเกี่ยวกับแต่ละคน
อันนี้คือจี๋หงชาง (吉鸿昌) ซึ่งเป็นคนที่มีบ้านเก่าอยู่ในย่านเดียวกับบ้านเก่าของจางเสวียเหลียงและบ้านเครื่องกระเบื้องเคลือบที่แวะไปมาแต่ไม่ได้แวะไปชมบ้านเขาด้วยเพราะคิดว่าไม่ได้มีความสำคัญมากพอ
ได้เวลาเข้าไปในอาคารซึ่งเป็นส่วนจัดแสดงหลักของที่นี่
เข้ามาห้องแรกสุด
ภาพวาดฝาผนังดูอลังการมาก
ข้างในกว้างใหญ่และเต็มไปด้วยรายละเอียดเยอะมาก แต่เราไม่ได้ดูละเอียดเพราะว่ามันจะเอียดเกินไป ก็เลยขอลงรูปบางส่วนแล้วไม่พูดถึงรายละเอียดมาก
หมดแล้ว ก็ได้เวลาเดินออกจากที่นี่ไป
ที่นี่ไม่มีรถไฟฟ้าผ่าน และที่หมายถัดไปก็ไม่มีเช่นกัน ดังนั้นการเดินทางในขั้นต่อไปนี้จึงใช้รถเมล์ โดยต้องเดินออกมาอีกหน่อยจึงจะเจอป้ายรถเมล์
รถเมล์ที่จะไปนั้นหาไม่ยาก รอไม่นานรถเมล์ก็มา
https://phyblas.hinaboshi.com/20151010
{{s.chue}}
〇
✖
ทวีต
-----------------------------------------
囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧
ดูสถิติของหน้านี้
หมวดหมู่
--
ท่องเที่ยว
>>
พิพิธภัณฑ์
--
ประเทศจีน
>>
จีนแผ่นดินใหญ่
>>
เทียนจิน
--
ประวัติศาสตร์
>>
ประวัติศาสตร์จีน
ไม่อนุญาตให้นำเนื้อหาของบทความไปลงที่อื่นโดยไม่ได้ขออนุญาตโดยเด็ดขาด หากต้องการนำบางส่วนไปลงสามารถทำได้โดยต้องไม่ใช่การก๊อปแปะแต่ให้เปลี่ยนคำพูดเป็นของตัวเอง หรือไม่ก็เขียนในลักษณะการยกข้อความอ้างอิง และไม่ว่ากรณีไหนก็ตาม ต้องให้เครดิตพร้อมใส่ลิงก์ของทุกบทความที่มีการใช้เนื้อหาเสมอ
三
~ เกี่ยวกับเรา ~
สารบัญ
รวมคำแปลวลีเด็ดจากญี่ปุ่น
ภาษา python
มอดูลต่างๆ
-- numpy
-- matplotlib
-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
การเรียนรู้ของเครื่อง
-- โครงข่าย
ประสาทเทียม
ภาษา javascript
ภาษา mongol
ภาษาศาสตร์
maya
ความน่าจะเป็น
บันทึกในญี่ปุ่น
บันทึกในจีน
-- บันทึกในปักกิ่ง
-- บันทึกในฮ่องกง
-- บันทึกในมาเก๊า
บันทึกในไต้หวัน
บันทึกในยุโรปเหนือ
บันทึกในประเทศอื่นๆ
qiita
บทความอื่นๆ
บทความแบ่งตามหมวด
==เลือกหมวด==
ดาราศาสตร์
คณิตศาสตร์
-ความน่าจะเป็น
คอมพิวเตอร์
-เขียนโปรแกรม
--python
---numpy
---scipy
---matplotlib
---pandas
---manim
---pyqt
---sklearn
---pytorch
---mayapython
--ruby
--javascript
--dart
--MATLAB
--SQL
--regex
--opencv
-shell
-3D
--maya
--MMD
-microsoft_office
-pdf
-ปัญญาประดิษฐ์
--โครงข่ายประสาทเทียม
--สเตเบิลดิฟฟิวชัน
---comfyui
-การสุ่ม
ภาษาศาสตร์
-ตัวอักษร
-เรียนภาษา
-หลักเกณฑ์การทับศัพท์
-ภาษาจีน
--ภาษาจีนกลาง
-ภาษาญี่ปุ่น
-ภาษามองโกล
-ภาษาลาว
-ภาษาเขมร
ประวัติศาสตร์
-ประวัติศาสตร์จีน
-ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
ปรัชญา
ประเทศจีน
-จีนแผ่นดินใหญ่
--ปักกิ่ง
--เทียนจิน
--เหลียวหนิง
--เหอเป่ย์
--เหอหนาน
--ซานตง
--ซานซี
--อานฮุย
--เจ้อเจียง
--หูเป่ย์
--หูหนาน
--ฝูเจี้ยน
--กวางตุ้ง
---แต้จิ๋ว
--ยูนนาน
--ซินเจียง
-ฮ่องกง
-มาเก๊า
-ไต้หวัน
--ไทเป
--จีหลง
--เถาหยวน
--ซินจู๋
--เหมียวลี่
--ไถจง
--จางฮว่า
--หยวินหลิน
--เจียอี้
--ไถหนาน
--เกาสยง
--ผิงตง
--อี๋หลาน
ประเทศญี่ปุ่น
-ฮกไกโด
-อาโอโมริ
-อิวาเตะ
-มิยางิ
-อากิตะ
-ยามางาตะ
-ฟุกุชิมะ
-อิบารากิ
-โทจิงิ
-กุมมะ
-ไซตามะ
-จิบะ
-โตเกียว
-คานางาวะ
-นีงาตะ
-โทยามะ
-อิชิกาวะ
-ฟุกุอิ
-ยามานาชิ
-นางาโนะ
-กิฟุ
-ชิซึโอกะ
-ไอจิ
-มิเอะ
-ชิงะ
-เกียวโต
-โอซากะ
-เฮียวโงะ
-นาระ
-วากายามะ
-โอกายามะ
-ฮิโรชิมะ
-ยามางุจิ
-ฟุกุโอกะ
ต่างแดน
-อุษาคเนย์
--กัมพูชา
--พม่า
--สิงคโปร์
-ยุโรป
--สวีเดน
--เดนมาร์ก
--ฟินแลนด์
ท่องเที่ยว
-มหาวิทยาลัย
-พิพิธภัณฑ์
--พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
--หอศิลป์
-สวนสัตว์
--พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ
-ท้องฟ้าจำลอง
-ตึกระฟ้า
-ปราสาท☑
--ปราสาทญี่ปุ่น
--ปราสาทขอม
--ปราสาทยุโรป
-ศาสนสถาน
--วัด
--ศาลเจ้า
--โบสถ์
--มัสยิด
-สุสาน
-มรดกโลก
-ทะเล
-ทะเลสาบ
-ภูเขา
-หิมะ
-ดอกซากุระ
-แมว
-รถไฟ
-เรือ
-ตลาดกลางคืน
-งานเทศกาล
-ที่ระลึกภัยพิบัติ
-ตามรอย
บันเทิง
-เกม
--อาเตอลีเย
--โปเกมอน
--caligula
--vn
-อนิเมะ
-มังงะ
-นิยาย
-เพลง
--เพลงอนิเมะ
--เพลงเกม
เรื่องแต่ง
บันทึก
ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ
ค้นหาบทความ
บทความล่าสุด
สำนักขงจื๊อกิ๊กเอี๋ยและป้อมประตูจิ๊งเหี่ยงมึ้ง ย่านเก่าแก่กลางเมืองกิ๊กเอี๊ย วัดขงจื๊อที่ใหญ่เป็นอันดับ ๒
หอกิ๊กเอี๊ยและนครหยกเอี่ยมุ่ย
พิพิธภัณฑ์เมืองกิ๊กเอี๊ยและจตุรัสวัฒนธรรมกิ๊กเอี๊ย
นั่งรถไฟสายอามางิไปเดินเล่นในย่านอามางิเมืองอาซากุระ
เที่ยววัดนันโซวอิง เดินเล่นย่านเทนจิง แล้วนั่งรถไฟไปเมืองคุรุเมะ
บทความแนะนำ
ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ
บทความแต่ละเดือน
2024年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2023年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2022年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2021年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2020年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
ค้นบทความเก่ากว่านั้น
ไทย
日本語
中文