φυβλαςのβλογ
บล็อกของ phyblas



manim บทที่ ๑๑: การแปลงตำแหน่งจุดต่างๆของวัตถุโดยใช้ฟังก์ชัน
เขียนเมื่อ 2021/03/12 00:11
แก้ไขล่าสุด 2021/09/28 16:42
manim บทที่ ๑๑: การแปลงตำแหน่งจุดต่างๆของวัตถุโดยใช้ฟังก์ชัน

ต่อจาก บทที่ ๑๐

บทนี้จะเป็นเรื่องของการใช้ฟังก์ชันต่างๆเพื่อทำการแปลงรูปร่างของวัตถุอย่างอิสระตามที่ต้องการ




เมธอด .apply_function()

เมธอด .apply_function ใช้ปรับตำแหน่งจุดโดยคำนวณจากตำแหน่งเดิม

การใช้นั้นให้สร้างฟังก์ชันซึ่งจะรับค่าอาเรย์ที่มีตัวเลข ๓ ค่า คือพิกัดแกน xyz และให้คืนค่าเป็น 3 ตัว แต่ในที่นี้พิจารณาสองมิติจึงใช้แค่ x กับ y ส่วน z จะใส่ค่าอะไรลงไปก็ได้

เมื่อใช้กับ .animate เป็น .animate.apply_function ก็จะเป็นการทำภาพเคลื่อนไหว

ตัวอย่างการใช้งาน
import manimlib as mnm
import math

def func(p):
    return p[0],2/(2+p[1])-2,p[2]

class Manimala(mnm.Scene):
    def construct(self):
        text = mnm.Text('แมงมุมแล้วไง\n\nข้องใจเหรอคะ?',color='#d0adff',size=2)
        self.play(
            text.animate.apply_function(func),
            run_time=1
        )



ต่อไปขอลองยกตัวอย่างอื่นๆโดยเปลี่ยนฟังก์ชันเป็นแบบอื่นๆไปเรื่อยๆแล้วลองรันโค้ดเดิมใหม่เพื่อดูเป็นตัวอย่างให้เห็นภาพการใช้งานเพิ่มเติม
def func(p):
    return p[0],0.1*p[1]*p[0]**2,p[2]





def func(p):
    return p[0],p[1]/(1+p[0]**2),p[2]





def func(p):
    return p[0]*1.5,p[1]+0.25*p[0]**2-2,p[2]





def func(p):
    return p[1]*2,p[0]*0.5,p[2]





def func(p):
    return p[0],p[1]*1.2**p[0],p[2]





def func(p):
    s = math.sin((p[0]+p[1])*5)*0.06
    return p[0]+s,p[1]+s,p[2]





def func(p):
    r = 2.5-p[1]/2
    theta = (p[0]*0.2-0.5)*math.pi
    x = r*math.cos(theta)*1.8
    y = r*math.sin(theta)
    return x,y,p[2]






ApplyPointwiseFunction

การทำภาพเคลื่อนไหวด้วย animate.apply_function() นั้นอาจสามารถเขียนแทนด้วยคลาส ApplyPointwiseFunction ได้ ซึ่งจะให้ผลเหมือนกัน แค่เปลี่ยนวิธีการเขียน

ตัวอย่างการเขียนโดยใช้ ApplyPointwiseFunction แทน
import manimlib as mnm
import math

def func(p):
    s = math.sin(p[0]*2)
    return p[0]+s*0.3,p[1]*(s+1.8),p[2]

class Manimala(mnm.Scene):
    def construct(self):
        text = mnm.Text('มานีกับมาลี',color='#adffd0',size=4)
        self.play(
            mnm.ApplyPointwiseFunction(func,text),
            run_time=1
        )





เมธอด .apply_complex_function()

อีกวิธีหนึ่งที่ใช้ในการปรับตำแหน่งจุดก็คือ .apply_complex_function ซึ่งจะคล้ายกับ .apply_function แต่ข้อแตกต่างคือวิธีนี้จะพิจารณาค่าแกน x และ y เป็นระนาบเชิงซ้อน โดย x เป็นจำนวนจริง y เป็นจำนวนจินตภาพ

ฟังก์ชันที่จะใช้ใน .apply_complex_function จะรับค่าจำนวนเชิงซ้อน และทำการคำนวณบางอย่างเพื่อคืนค่าจำนวนเชิงซ้อนตัวใหม่ออกมา

สำหรับการคำนวณจำนวนเชิงซ้อนนั้นอาจใช้มอดูล cmath ช่วย หรืออาจใช้ numpy ก็ได้เหมือนกัน (เกี่ยวกับ cmath และเรื่องของจำนวนเชิงซ้อนอ่านได้ใน https://phyblas.hinaboshi.com/20160608)

ตัวอย่างการใช้
import manimlib as mnm
import cmath

def cf(p):
    return cmath.sinh((p-1j)*0.5)+2j

class Manimala(mnm.Scene):
    def construct(self):
        text = mnm.Text('ระนาบเชิงซ้อน\n\nแล้วไง ข้องใจเรอะ?',color='#ffade3',size=1.8)
        self.play(
            text.animate.apply_complex_function(cf),
            run_time=1
        )






ApplyComplexFunction

การทำภาพเคลื่อนไหวด้วย animate.apply_complex_function() สามารถแทนได้โดยใช้คลาส ApplyComplexFunction ซึ่งจะให้ผลเหมือนกัน แค่เปลี่ยนวิธีการเขียนเป็นอีกแบบ

ตัวอย่างการใช้ ApplyComplexFunction
import manimlib as mnm
import cmath

def cf(p):
    return cmath.sin(p*0.4)*5

class Manimala(mnm.Scene):
    def construct(self):
        text = mnm.Text('ระนาบเชิงซ้อนแล้วไง\n\n ข้องใจตรงไหนกัน?',color='#fff1ad',size=1.7)
        self.play(
            mnm.ApplyComplexFunction(cf,text),
            run_time=1
        )





อ่านบทถัดไป >> บทที่ ๑๒




-----------------------------------------

囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧

ดูสถิติของหน้านี้

หมวดหมู่

-- คอมพิวเตอร์ >> เขียนโปรแกรม >> python >> manim

ไม่อนุญาตให้นำเนื้อหาของบทความไปลงที่อื่นโดยไม่ได้ขออนุญาตโดยเด็ดขาด หากต้องการนำบางส่วนไปลงสามารถทำได้โดยต้องไม่ใช่การก๊อปแปะแต่ให้เปลี่ยนคำพูดเป็นของตัวเอง หรือไม่ก็เขียนในลักษณะการยกข้อความอ้างอิง และไม่ว่ากรณีไหนก็ตาม ต้องให้เครดิตพร้อมใส่ลิงก์ของทุกบทความที่มีการใช้เนื้อหาเสมอ

สารบัญ

รวมคำแปลวลีเด็ดจากญี่ปุ่น
มอดูลต่างๆ
-- numpy
-- matplotlib

-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
การเรียนรู้ของเครื่อง
-- โครงข่าย
     ประสาทเทียม
ภาษา javascript
ภาษา mongol
ภาษาศาสตร์
maya
ความน่าจะเป็น
บันทึกในญี่ปุ่น
บันทึกในจีน
-- บันทึกในปักกิ่ง
-- บันทึกในฮ่องกง
-- บันทึกในมาเก๊า
บันทึกในไต้หวัน
บันทึกในยุโรปเหนือ
บันทึกในประเทศอื่นๆ
qiita
บทความอื่นๆ

บทความแบ่งตามหมวด



ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ

  ค้นหาบทความ

  บทความแนะนำ

ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ

บทความแต่ละเดือน

2024年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2023年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2022年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2021年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

2020年

1月 2月 3月 4月
5月 6月 7月 8月
9月 10月 11月 12月

ค้นบทความเก่ากว่านั้น

ไทย

日本語

中文