φυβλαςのβλογ
บล็อกของ phyblas
ทวีต
พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ธรรมชาติแห่งชาติ ตอนที่ ๒: สีและตัวเลข
เขียนเมื่อ 2017/08/05 13:30
แก้ไขล่าสุด 2023/07/01 20:15
# อาทิตย์ 9 ก.ค. 2017
ต่อจากตอนที่แล้วที่เข้าชมศูนย์วิทยาศาสตร์เสร็จไป
https://phyblas.hinaboshi.com/20170803
ต่อมาพวกเราก็กลับเข้ามายังส่วนอาคารหลักอีกครั้ง
ตอนที่เดินกลับเข้ามาก็เห็นตรงนี้ก็มีร้านขายของที่ระลึกอีกแห่ง ใหญ่กว่าตรงศูนย์วิทยาศาสตร์หน่อย
จากนั้นลงมาที่ชั้นใต้ดินในส่วนทางฝั่งของโถงวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ตรงนี้เป็นส่วนที่จัดแสดงเกี่ยวกับสี
แสงคือพลังงานรังสีที่ถูกแผ่ออกมา
ตรงนี้อธิบายปรากฏการณ์ว่าทำไมเราถึงเห็นท้องฟ้าเป็นสีต่างๆในเวลาต่างกัน เนื่องจากการที่รังสีดวงอาทิตย์ทำมุมไม่เท่ากันนั่นเอง
เรื่องของสีและการอยู่รอด
สัตว์ใช้สีเพื่อทำหน้าที่อะไรหลายๆอย่าง
การรับรู้ทางแสงของสัตว์ต่างๆซึ่งไม่เหมือนกัน
ปรากฏการณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสี
ตรงนี้เป็นแผ่นที่ให้ลองหมุนดูว่าถ้ากรองแสงด้วยแผ่นสีต่างกันจะเห็นภาพด้านหลังเป็นยังไง แสงไหนถูกกรองก็จะมองไม่เห็น
ตรงนี้จำลองภาพวาดฝาผนังโดยมนุษย์ยุคหิน
ดูจบในส่วนจัดแสดงเกี่ยวกับสี ยังมีอีกส่วนหนึ่งตรงชั้นใต้ดินนี้ที่ยังไม่ได้เข้าชม คือส่วนจัดแสดงเรื่องของตัวเลข แต่ว่าในจังหวะนั้นดูเวลาแล้วใกล้จะถึงรอบฉายหนังซึ่งตั้งใจว่าจะไปดู
โรงหนังนี้เป็นหนังที่ถ่ายทำในรูปแบบที่ฉายลงบนพื้นแล้วให้คนชมมองจากด้านบน การเข้าชมจะมีรอบชมทุกชั่วโมง ความยาวประมาณ ๑๐ นาที
เราตัดสินใจจะพักการชมส่วนจัดแสดงตรงนี้เพื่อไปดูหนังอันนี้ ดูเสร็จค่อยกลับมาชมต่อ
ภายในห้องฉายเป็นแบบนี้ ทุกคนยืนล้อมวงเวียนตรงกลางแล้วมองลงไปข้างล่างจากตรงนั้น
หนังที่ฉายคือทิวทัศน์เมืองไถจง ระหว่างฉายหนังห้ามถ่ายภาพ ดังนั้นจึงไม่ได้เอาภาพมาลงให้ชม
ดูหนังเสร็จก็กลับมาที่ชั้นใต้ดิน เพื่อชมส่วนจัดแสดงต่อไป หัวข้อเกี่ยวกับเรื่องความสำคัญของตัวเลข
ตรงนี้เล่าถึงการพัฒนาคณิตศาสตร์ในยุคสมัยต่างๆ เริ่มตั้งแต่อียิปต์โบราณ
กรีกโบราณ อาร์คีเมเดส
ปโตเลมี
บางยุคชาวอาหรับก็มีส่วนในการพัฒนาคณิตศาสตร์
แนวคิดเรื่องศูนย์กลางจักรวาลซึ่งเปลี่ยนแปลงไปในยุคต่างๆ
หนึ่งในอุปกรณ์ทางดาราศาสตร์ที่มีมาแต่โบราณคือลูกทรงกลมท้องฟ้าซึ่งก็เป็นอุปกรณ์ที่ต้องอาศัยความเข้าใจทางเรขาคณิตเป็นอย่างดี
อธิบายวิธีการคิดในแบบคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญมากในการเข้าใจธรรมชาติ
ตรงนี้อธิบายเรื่องหลักความน่าจะเป็นในธรรมชาติ
ตรงนี้อธิบายเรื่องกาลอวกาศที่โค้งงอตามทฤษฎีสัมพัทธภาพ
มุมนี้เป็นอุปกรณ์เกมทางคณิตศาสตร์
เช่นลูกกลมๆนี้จำลองโครงสร้างผลึก ให้ลองดูว่าทำยังไงจึงจะยัดทั้งหมดลงกล่องได้ ต้องวางให้เหลือช่องว่างน้อยที่สุด
ตรงนี้แสดงรูปทรงต่างๆที่น่าสนใจที่พบในสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติ อันนี้คือทรงเกลียว (螺旋形) ของหอย
ทรงหกเหลี่ยม (六角形) ของรังผึ้ง
ทรงสมมาตร (對稱形, 对称形)
สมมาตรแนวรัศมี (輻射對稱, 辐射对称)
ว่าด้วยเรื่องตรรกะของรูปทรง
รูปทรงผลึกต่างๆ
โครงสร้างเส้นโค้งในสิ่งมีชีวิต
เกลียวของหอยชนิดต่างๆ
สิ่งมีชีวิตต่างๆมักมีโครงสร้างสมมาตร
หน้าที่การใข้งานเป็นตัวกำหนดรูปร่างของอวัยวะต่างๆ
ใช้เวลาไปพอสมควรในการดูส่วนนี้ เมื่อเสร็จแล้วเราก็กลับขึ้นมาชั้นหนึ่งเพื่อเข้าชมส่วนจัดแสดงพิเศษต่อ
https://phyblas.hinaboshi.com/20170807
{{s.chue}}
〇
✖
ทวีต
-----------------------------------------
囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧
ดูสถิติของหน้านี้
หมวดหมู่
--
ประเทศจีน
>>
ไต้หวัน
>>
ไถจง
--
ท่องเที่ยว
>>
พิพิธภัณฑ์
>>
พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
ไม่อนุญาตให้นำเนื้อหาของบทความไปลงที่อื่นโดยไม่ได้ขออนุญาตโดยเด็ดขาด หากต้องการนำบางส่วนไปลงสามารถทำได้โดยต้องไม่ใช่การก๊อปแปะแต่ให้เปลี่ยนคำพูดเป็นของตัวเอง หรือไม่ก็เขียนในลักษณะการยกข้อความอ้างอิง และไม่ว่ากรณีไหนก็ตาม ต้องให้เครดิตพร้อมใส่ลิงก์ของทุกบทความที่มีการใช้เนื้อหาเสมอ
三
~ เกี่ยวกับเรา ~
สารบัญ
รวมคำแปลวลีเด็ดจากญี่ปุ่น
ภาษา python
มอดูลต่างๆ
-- numpy
-- matplotlib
-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
การเรียนรู้ของเครื่อง
-- โครงข่าย
ประสาทเทียม
ภาษา javascript
ภาษา mongol
ภาษาศาสตร์
maya
ความน่าจะเป็น
บันทึกในญี่ปุ่น
บันทึกในจีน
-- บันทึกในปักกิ่ง
-- บันทึกในฮ่องกง
-- บันทึกในมาเก๊า
บันทึกในไต้หวัน
บันทึกในยุโรปเหนือ
บันทึกในประเทศอื่นๆ
qiita
บทความอื่นๆ
บทความแบ่งตามหมวด
==เลือกหมวด==
ดาราศาสตร์
คณิตศาสตร์
-ความน่าจะเป็น
คอมพิวเตอร์
-เขียนโปรแกรม
--python
---numpy
---scipy
---matplotlib
---pandas
---manim
---pyqt
---sklearn
---pytorch
---mayapython
--ruby
--javascript
--dart
--MATLAB
--SQL
--regex
--opencv
-shell
-3D
--maya
--MMD
-microsoft_office
-pdf
-ปัญญาประดิษฐ์
--โครงข่ายประสาทเทียม
--สเตเบิลดิฟฟิวชัน
---comfyui
-การสุ่ม
ภาษาศาสตร์
-ตัวอักษร
-เรียนภาษา
-หลักเกณฑ์การทับศัพท์
-ภาษาจีน
--ภาษาจีนกลาง
-ภาษาญี่ปุ่น
-ภาษามองโกล
-ภาษาลาว
-ภาษาเขมร
ประวัติศาสตร์
-ประวัติศาสตร์จีน
-ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
ปรัชญา
ประเทศจีน
-จีนแผ่นดินใหญ่
--ปักกิ่ง
--เทียนจิน
--เหลียวหนิง
--เหอเป่ย์
--เหอหนาน
--ซานตง
--ซานซี
--อานฮุย
--เจ้อเจียง
--หูเป่ย์
--หูหนาน
--ฝูเจี้ยน
--กวางตุ้ง
---แต้จิ๋ว
--ยูนนาน
--ซินเจียง
-ฮ่องกง
-มาเก๊า
-ไต้หวัน
--ไทเป
--จีหลง
--เถาหยวน
--ซินจู๋
--เหมียวลี่
--ไถจง
--จางฮว่า
--หยวินหลิน
--เจียอี้
--ไถหนาน
--เกาสยง
--ผิงตง
--อี๋หลาน
ประเทศญี่ปุ่น
-ฮกไกโด
-อาโอโมริ
-อิวาเตะ
-มิยางิ
-อากิตะ
-ยามางาตะ
-ฟุกุชิมะ
-อิบารากิ
-โทจิงิ
-กุมมะ
-ไซตามะ
-จิบะ
-โตเกียว
-คานางาวะ
-นีงาตะ
-โทยามะ
-อิชิกาวะ
-ฟุกุอิ
-ยามานาชิ
-นางาโนะ
-กิฟุ
-ชิซึโอกะ
-ไอจิ
-มิเอะ
-ชิงะ
-เกียวโต
-โอซากะ
-เฮียวโงะ
-นาระ
-วากายามะ
-โอกายามะ
-ฮิโรชิมะ
-ยามางุจิ
-ฟุกุโอกะ
-ซางะ
-นางาซากิ
-คุมาโมโตะ
-โออิตะ
ต่างแดน
-อุษาคเนย์
--กัมพูชา
--พม่า
--สิงคโปร์
-ยุโรป
--สวีเดน
--เดนมาร์ก
--ฟินแลนด์
-ออสเตรเลีย
ท่องเที่ยว
-มหาวิทยาลัย
-พิพิธภัณฑ์
--พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
--หอศิลป์
-สวนสัตว์
--พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ
-ท้องฟ้าจำลอง
-ตึกระฟ้า
-ปราสาท☑
--ปราสาทญี่ปุ่น
--ปราสาทขอม
--ปราสาทยุโรป
-ศาสนสถาน
--วัด
--ศาลเจ้า
--โบสถ์
--มัสยิด
-สุสาน
-มรดกโลก
-ทะเล
-ทะเลสาบ
-ภูเขา
-หิมะ
-ดอกซากุระ
-แมว
-รถไฟ
-เรือ
-ตลาดกลางคืน
-งานเทศกาล
-ที่ระลึกภัยพิบัติ
-ตามรอย
บันเทิง
-เกม
--อาเตอลีเย
--โปเกมอน
--caligula
--vn
-อนิเมะ
-มังงะ
-นิยาย
-เพลง
--เพลงอนิเมะ
--เพลงเกม
เรื่องแต่ง
บันทึก
ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ
ค้นหาบทความ
บทความล่าสุด
เดินเล่นริมฝั่งทะเลเบปปุยามเช้า มีหาดทรายนิดหน่อย
ปราสาทคิฟุเนะ จุดชมทิวทัศน์ยุเกมุริ เบปปุทาวเวอร์
เบปปุจิโงกุเมงุริ เที่ยวชมอนเซงบ่อนรกที่มีสีสันสวยงามแปลกตาทั้ง ๗ แห่งในเบปปุ
ขึ้นรถกระเช้าเบปปุไปยังยอดเขาทสึรุมิสูง ๑๓๗๕ เมตร มองเห็นเมืองเบปปุริมฝั่งทะเลจากมุมสูง
เดินไปตามถนนยุโนะทสึโบะ ชมยุฟุอิงฟลอรัลวิลเลจ แวะกินตามข้างทางไปเรื่อย
บทความแนะนำ
ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ
บทความแต่ละเดือน
2024年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2023年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2022年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2021年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2020年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
ค้นบทความเก่ากว่านั้น
ไทย
日本語
中文