φυβλαςのβλογ
บล็อกของ phyblas
ทวีต
พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ธรรมชาติแห่งชาติ ตอนที่ ๓: ส่วนจัดแสดงพิเศษ หมู่ถ้ำตุนหวง
เขียนเมื่อ 2017/08/07 03:53
แก้ไขล่าสุด 2023/07/01 20:16
# อาทิตย์ 9 ก.ค. 2017
หลังจากที่ตอนที่แล้วชมส่วนจัดแสดงชั้นใต้ดินของโถงวิทยาศาสตร์ชีวภาพจบไป
https://phyblas.hinaboshi.com/20170805
ตอนนี้ต่อด้วยส่วนจัดแสดงพิเศษตุนหวง
ตุนหวงเป็นชื่อเมืองหนึ่งในมณฑลกานซู่ของจีน ที่นั่นมีการค้นพบหมู่ถ้ำที่ถูกขุดโดยคนในสมัยก่อน อายุเก่าแก่กว่าพันปี ที่เก่าแก่สุดเริ่มในช่วงยุคห้าชนเผ่าสิบหกแคว้น (五胡十六国, ปี 304-439) แต่มีการสร้างเพิ่มไปเรื่อยๆเป็นเวลาหลายร้อยปี ท้ายที่สุดคือช่วงสมัยราชวงศ์หยวน (元朝, ปี 1271-1368)
ถ้ำที่ใหญ่ที่สุดในตุนหวงคือถ้ำมั่วเกา (莫高窟) ซึ่งได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกตั้งแต่ปี 1987
เนื่องจากเอกสารโบราณและสมบัติต่างๆที่พบในตุนหวงนั้นมีมากมายทำให้ต้องใช้เวลาศึกษาวิจัยกันอย่างยาวนาน มีนักวิจัยจากที่ประเทศต่างๆให้ความสนใจ ไม่เพียงแค่คนจีน
การศึกษาเกี่ยวกับมรดกต่างๆที่อยู่ภายในหมู่ถ้ำที่ตุนหวงนี้ถูกตั้งเป็นชื่อวิชา เรียกว่า ตุนหวงวิทยา (敦煌學, 敦煌学)
ส่วนจัดแสดงพิเศษนี้ได้สร้างจำลองบรรยากาศของตุนหวงไว้ในห้องจัดแสดงขนาดใหญ่ห้องหนึ่ง แล้วก็มีอีกห้องหนึ่งใช้สื่ออิเล็กทรอนิก ส่วนนี้เล็กนิดเดียว
ทั้งสองห้องซื้อตั๋วแยกกัน ห้องใหญ่ ๑๘๐ ห้องเล็ก ๕๐
หัวข้อเรื่องตุนหวงนี้เป็นเรื่องที่ออกแนวประวัติศาสตร์ ไม่ได้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือธรรมชาตินักจึงแปลกใจที่มาจัดที่นี่ แต่ถึงอย่างนั้นหมู่ถ้ำตุนหวงก็เป็นสิ่งที่แสดงถึงภูมิปัญญาและวิทยาการของจีนโบราณ
ช่วงจัดแสดงคือตั้งแต่ 26 เม.ษ. ถึง 1 ต.ค. 2017
ทางเข้า เป็นรูปด้านหน้าทางเข้าถ้ำมั่วเกา
ในส่วนแรกจะอธิบายให้ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับที่นี่
ส่วนต่อมามีภาพและรูปปั้นที่จำลองจากของที่อยู่ในถ้ำมาแสดงให้ดู
ส่วนถัดมาอีกเป็นถ้ำที่สร้างจำลองขึ้นโดยข้างในไม่มีไฟแต่ให้คนที่จะชมเป็นคนถือไฟฉายส่องเอง ได้บรรยากาศเหมือนกำลังสำรวจถ้ำอยู่เองจริงๆ
ตรงนี้จำลองถ้ำส่วนที่มีการค้นพบเอกสารโบราณ
ป้ายถ้ำมั่วเกาที่มีเป็นภาษาต่างๆมากมายสลักอยู่
สีผสมต่างๆที่ใช้ในการวาดภาพฝาผนัง
จำลองห้องทำงานของคนที่ทำงานซ่อมบำรุงถ้ำตุนหวง
แล้วก็ปิดท้ายด้วยส่วนที่ขายของที่ระลึก
เดินเสร็จห้องหลักไปแล้วต่อมาก็มาดูห้องเล็กที่ใช้สื่ออิเล็กทรอนิก
ระหว่างทางเราเดินผ่านห้องที่มีจัดแสดงพิเศษอีกห้องซึ่งเป็นเรื่องของวิวัฒนาการของสัตว์ตระกูลช้าง ซึ่งเราไม่ได้แวะไปดูกัน
ทางเข้าห้องอีกห้อง
นี่เป็นห้องเล็ก ภายในก็มีอยู่แค่นี้
ส่วนตรงนี้เป็นที่ให้ลองเวอร์ชวลเรียลิตี (VR) จำลองการสำรวจถ้ำ
หน้าจอตรงนี้มีให้ลองวาดเล่นบนรูป เราก็ลองวาดดู
ลองระบายสีทับทั้งหน้าแล้วเขียนคำว่า "ตุนหวง" เป็นภาษาไทยลงไป
ส่วนอันนี้เป็นรูปม้า
เท่านี้ก็เดินจบส่วนจัดแสดงพิเศษ ตอนต่อไปจะไปชมในส่วนของโถงวัฒนธรรมมนุษย์
https://phyblas.hinaboshi.com/20170809
{{s.chue}}
〇
✖
ทวีต
-----------------------------------------
囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧
ดูสถิติของหน้านี้
หมวดหมู่
--
ประเทศจีน
>>
ไต้หวัน
>>
ไถจง
--
ประวัติศาสตร์
>>
ประวัติศาสตร์จีน
--
ท่องเที่ยว
>>
พิพิธภัณฑ์
ไม่อนุญาตให้นำเนื้อหาของบทความไปลงที่อื่นโดยไม่ได้ขออนุญาตโดยเด็ดขาด หากต้องการนำบางส่วนไปลงสามารถทำได้โดยต้องไม่ใช่การก๊อปแปะแต่ให้เปลี่ยนคำพูดเป็นของตัวเอง หรือไม่ก็เขียนในลักษณะการยกข้อความอ้างอิง และไม่ว่ากรณีไหนก็ตาม ต้องให้เครดิตพร้อมใส่ลิงก์ของทุกบทความที่มีการใช้เนื้อหาเสมอ
三
~ เกี่ยวกับเรา ~
สารบัญ
รวมคำแปลวลีเด็ดจากญี่ปุ่น
ภาษา python
มอดูลต่างๆ
-- numpy
-- matplotlib
-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
การเรียนรู้ของเครื่อง
-- โครงข่าย
ประสาทเทียม
ภาษา javascript
ภาษา mongol
ภาษาศาสตร์
maya
ความน่าจะเป็น
บันทึกในญี่ปุ่น
บันทึกในจีน
-- บันทึกในปักกิ่ง
-- บันทึกในฮ่องกง
-- บันทึกในมาเก๊า
บันทึกในไต้หวัน
บันทึกในยุโรปเหนือ
บันทึกในประเทศอื่นๆ
qiita
บทความอื่นๆ
บทความแบ่งตามหมวด
==เลือกหมวด==
ดาราศาสตร์
คณิตศาสตร์
-ความน่าจะเป็น
คอมพิวเตอร์
-เขียนโปรแกรม
--python
---numpy
---scipy
---matplotlib
---pandas
---manim
---pyqt
---sklearn
---pytorch
---mayapython
--ruby
--javascript
--dart
--MATLAB
--SQL
--regex
--opencv
-shell
-3D
--maya
--MMD
-microsoft_office
-pdf
-ปัญญาประดิษฐ์
--โครงข่ายประสาทเทียม
--สเตเบิลดิฟฟิวชัน
---comfyui
-การสุ่ม
ภาษาศาสตร์
-ตัวอักษร
-เรียนภาษา
-หลักเกณฑ์การทับศัพท์
-ภาษาจีน
--ภาษาจีนกลาง
-ภาษาญี่ปุ่น
-ภาษามองโกล
-ภาษาลาว
-ภาษาเขมร
ประวัติศาสตร์
-ประวัติศาสตร์จีน
-ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
ปรัชญา
ประเทศจีน
-จีนแผ่นดินใหญ่
--ปักกิ่ง
--เทียนจิน
--เหลียวหนิง
--เหอเป่ย์
--เหอหนาน
--ซานตง
--ซานซี
--อานฮุย
--เจ้อเจียง
--หูเป่ย์
--หูหนาน
--ฝูเจี้ยน
--กวางตุ้ง
---แต้จิ๋ว
--ยูนนาน
--ซินเจียง
-ฮ่องกง
-มาเก๊า
-ไต้หวัน
--ไทเป
--จีหลง
--เถาหยวน
--ซินจู๋
--เหมียวลี่
--ไถจง
--จางฮว่า
--หยวินหลิน
--เจียอี้
--ไถหนาน
--เกาสยง
--ผิงตง
--อี๋หลาน
ประเทศญี่ปุ่น
-ฮกไกโด
-อาโอโมริ
-อิวาเตะ
-มิยางิ
-อากิตะ
-ยามางาตะ
-ฟุกุชิมะ
-อิบารากิ
-โทจิงิ
-กุมมะ
-ไซตามะ
-จิบะ
-โตเกียว
-คานางาวะ
-นีงาตะ
-โทยามะ
-อิชิกาวะ
-ฟุกุอิ
-ยามานาชิ
-นางาโนะ
-กิฟุ
-ชิซึโอกะ
-ไอจิ
-มิเอะ
-ชิงะ
-เกียวโต
-โอซากะ
-เฮียวโงะ
-นาระ
-วากายามะ
-โอกายามะ
-ฮิโรชิมะ
-ยามางุจิ
-ฟุกุโอกะ
-ซางะ
-นางาซากิ
-คุมาโมโตะ
-โออิตะ
ต่างแดน
-อุษาคเนย์
--กัมพูชา
--พม่า
--สิงคโปร์
-ยุโรป
--สวีเดน
--เดนมาร์ก
--ฟินแลนด์
-ออสเตรเลีย
ท่องเที่ยว
-มหาวิทยาลัย
-พิพิธภัณฑ์
--พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
--หอศิลป์
-สวนสัตว์
--พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ
-ท้องฟ้าจำลอง
-ตึกระฟ้า
-ปราสาท☑
--ปราสาทญี่ปุ่น
--ปราสาทขอม
--ปราสาทยุโรป
-ศาสนสถาน
--วัด
--ศาลเจ้า
--โบสถ์
--มัสยิด
-สุสาน
-มรดกโลก
-ทะเล
-ทะเลสาบ
-ภูเขา
-ภูเขาไฟ
-หิมะ
-ดอกซากุระ
-แมว
-รถไฟ
-เรือ
-ตลาดกลางคืน
-งานเทศกาล
-ที่ระลึกภัยพิบัติ
-ตามรอย
-ราเมง
บันเทิง
-เกม
--อาเตอลีเย
--โปเกมอน
--caligula
--vn
-อนิเมะ
-มังงะ
-นิยาย
-เพลง
--เพลงอนิเมะ
--เพลงเกม
เรื่องแต่ง
บันทึก
ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ
ค้นหาบทความ
บทความล่าสุด
เดินเล่นแถวย่านจายามะและทาจิมะในเขตโจวนังใจกลางเมืองฟุกุโอกะในวันบรรลุนิติภาวะ
วันที่หิมะแรกตกในฟุกุโอกะ 10 มกราคม 2025
รอต่อแถวยาว ๒ วันเพื่อกินราเมงร้านดัง เมนยะคาเนโตระ ในย่านเทนจิงใจกลางเมืองฟุกุโอกะ
เดินหาร้านไปทั่วย่านเมย์โนฮามะและอุจิฮามะที่เงียบเหงาในวันปีใหม่ เจอแต่ความว่างเปล่า
วันปีใหม่ไปฮัตสึโมวเดะที่ศาลเจ้าวาชิโอะอาตาโงะในเขตนิชิของเมืองฟุกุโอกะ
บทความแนะนำ
รวมร้านราเมงในเมืองฟุกุโอกะ
ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ
บทความแต่ละเดือน
2025年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2024年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2023年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2022年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2021年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
ค้นบทความเก่ากว่านั้น
ไทย
日本語
中文