φυβλαςのβλογ
บล็อกของ phyblas
ทวีต
จตุรัสจิมมี่ นักเขียนหนังสือภาพชื่อดังแห่งเมืองอี๋หลาน
เขียนเมื่อ 2018/01/15 00:21
แก้ไขล่าสุด 2021/09/28 16:42
# ศุกร์ 12 ม.ค. 2018
หลังจากที่ตอนที่แล้วแวะพักที่ผิงหลินแล้วเดินเที่ยวโดยไม่ได้ตั้งใจไป
https://phyblas.hinaboshi.com/20180113
เราก็นั่งรถไปยังเมือง
อี๋หลาน (宜蘭)
ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักของการเที่ยวคราวนี้
เมื่อออกจากผิงหลินแล้วทะลุผ่านหุบเขาออกมาก็เข้าสู่โลกทางฝั่งตะวันออกของเกาะไต้หวัน ที่นี่เต็มไปด้วยธรรมชาติ บ้านเมืองดูเบาบางกว่าทางตะวันตกมาก
ภาพระหว่างทางจากบนรถก่อนถึงตัวเมืองอี๋หลาน
เป้าหมายที่มาที่นี่จริงๆแล้วมีอยู่อย่างเดียวก็คือ
จตุรัสจิมมี่ (幾米廣場)
จิมมี่ (幾米)
หรือ
จิมมี่ เลี่ยว (Jimmy Liao)
ชื่อจริงคือ
เลี่ยวฝูปิน (廖福彬)
เป็นนักเขียนหนังสือภาพชื่อดังชาวไต้หวัน เกิดปี 1958 ที่เมืองอี๋หลาน
จตุรัสจิมมี่ถูกสร้างขึ้นมาเพราะเขาต้องการส่งเสริมการท่องเที่ยวให้กับบ้านเกิดของตัวเอง เปิดให้เข้าชมตั้งแต่ปี 2013 เป็นสถานที่จัดแสดงศิลปะที่เกี่ยวข้องกับผลงานของเขา สถานที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของสถานีรถไฟ แม้แต่ตัวสถานีเองก็ถูกตกแต่งให้เข้ากันไปด้วย
พวกเราเดินทางมาถึงเมืองอี๋หลาน จอดรถตรงลานจอดรถใกล้ๆจตุรัสจิมมี่เพื่อจะลงไปเดินเที่ยว ค่าจอดรถ ๑๕ บาท
ที่จอดรถดูโล่งๆ ดูแล้วน่าจะไม่ใช่เวลาที่คนมาเที่ยวกันมาก คงเพราะเป็นวันธรรมดา
เริ่มชมจากของที่อยู่ฝั่งตะวันออก คือฝั่งสถานีรถไฟก่อน
สถานที่พวกนี้สร้างขึ้นตามโดยใช้ฉากและตัวละครในหนังสือที่เขาเขียน
向左走・向右走 ผู้หญิงเลี้ยวซ้าย ผู้ชายเลี้ยวขวา
เดินมาถึงตรงนี้เป็นร้านขายของ
ต่อมาอีกหน่อยเจอศูนย์แนะนำการท่องเที่ยวที่นี่
ถัดมาเป็นสถานีรถไฟซึ่งถูกแต่งให้เข้าบรรยากาศเช่นกัน
จากนั้นข้ามไปฝั่งตรงข้าม
ตรงนี้เรียกว่าป่าติวติวตาง (丟丟噹森林)
มีรถไฟแขวนอยู่ข้างบน นี่ก็มาจากเรื่องที่เขาเขียน
ข้างใต้รถไฟมีร้านค้าตั้งอยู่มากมาย เดินเล่นซื้อของได้
จากนั้นก็เดินย้อนกลับไปจากทางนี้
ผ่านตรงนี้มีตู้ขายไปรษณียบัตร
ตรงนี้ก็เป็นร้านขายของ ชื่อท่าเปลี่ยนรถแห่งความสุข (幸福轉運站, ซิ่งฝูจว่านยวิ่นจ้าน)
ข้างในก็ขายของที่เกี่ยวกับผลงานของจิมมี่
ตรงนี้เป็นลานเด็กเล่น
เสร็จแล้วก็เดินข้ามกลับมาฝั่งที่จอดรถ ตรงนั้นได้เจอร้านเสี่ยวหลงเปาร้านนึง ก็เลยแวะทาน
ร้านนี้ใช้ตู้แบบนี้ในการสั่งอาหาร ต้องกดเลือกแล้วหยอดเหรียญ เพิ่งเคยเจอแบบนี้ในไต้หวันครั้งแรก แต่ถ้าเป็นที่ญี่ปุ่นจะเจอเยอะกว่า
ใช้เวลารอนานมากกว่าเสี่ยวหลงเปาจะมา ในที่สุดก็ได้กิน ที่จริงมีสั่งแกงไปด้วยแต่เขาบอกว่าหมดก็เลยเปลี่ยนเป็นชาแดง
แล้วระหว่างรออยู่พอดีได้เจอคนไต้หวันคนหนึ่งที่เรียนภาษาไทย เขาเห็นพวกเราคุยภาษาไทยก็เลยมาทักขอชวนคุย เห็นบอกว่าเคยไปอยู่ไทยมา ๒ ปี ชอบไทยก็เลยหัดเรียนภาษา เขาพูดได้แล้วในระดับนึง
เขามีให้ดูหนังสือที่เขาใช้เรียนด้วย เราก็เลยขอถ่ายรูปไว้ด้วย เขาดูจะตั้งใจพยายามเรียนเต็มที่ มีขีดคั่นคำด้วย เขาบอกว่าภาษาไทยยากตรงที่ไม่รู้เขตแบ่งคำอยู่ตรงไหน ต้องมาขีดแบ่งเอาเอง
แต่เท่าที่ดู เล่มนี้เขียนไม่ค่อยดีนักหรอก เพราะอยู่ดีๆมาสอนคำที่ไม่เห็นจำเป็นต้องรู้อย่าง "กล้องปัญญาอ่อน" (傻瓜相機) คนไทยเองยังไม่ค่อยเข้าใจว่าหมายถึงอะไรเลย แล้วก็หลักการเขียนเสียงอ่านก็แปลกๆมั่วๆไม่ได้มาตรฐาน อย่าง "สวน" เขียนเป็น suẃn แบบนี้จะอ่านถูกได้หรือเปล่านะ
อย่างไรก็ตาม เห็นมีคนสนใจเรียนภาษาไทยแบบนี้ก็รู้สึกดีใจ
กินเสร็จก็ได้เวลาออกเดินทางไปต่อ เป้าหมายต่อไปคือลุยขึ้นบนเขากลางเกาะไต้หวันตอนเหนือ
https://phyblas.hinaboshi.com/20180117
{{s.chue}}
〇
✖
ทวีต
-----------------------------------------
囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧
ดูสถิติของหน้านี้
หมวดหมู่
--
ประเทศจีน
>>
ไต้หวัน
>>
อี๋หลาน
ไม่อนุญาตให้นำเนื้อหาของบทความไปลงที่อื่นโดยไม่ได้ขออนุญาตโดยเด็ดขาด หากต้องการนำบางส่วนไปลงสามารถทำได้โดยต้องไม่ใช่การก๊อปแปะแต่ให้เปลี่ยนคำพูดเป็นของตัวเอง หรือไม่ก็เขียนในลักษณะการยกข้อความอ้างอิง และไม่ว่ากรณีไหนก็ตาม ต้องให้เครดิตพร้อมใส่ลิงก์ของทุกบทความที่มีการใช้เนื้อหาเสมอ
三
~ เกี่ยวกับเรา ~
สารบัญ
รวมคำแปลวลีเด็ดจากญี่ปุ่น
ภาษา python
มอดูลต่างๆ
-- numpy
-- matplotlib
-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
การเรียนรู้ของเครื่อง
-- โครงข่าย
ประสาทเทียม
ภาษา javascript
ภาษา mongol
ภาษาศาสตร์
maya
ความน่าจะเป็น
บันทึกในญี่ปุ่น
บันทึกในจีน
-- บันทึกในปักกิ่ง
-- บันทึกในฮ่องกง
-- บันทึกในมาเก๊า
บันทึกในไต้หวัน
บันทึกในยุโรปเหนือ
บันทึกในประเทศอื่นๆ
qiita
บทความอื่นๆ
บทความแบ่งตามหมวด
==เลือกหมวด==
ดาราศาสตร์
คณิตศาสตร์
-ความน่าจะเป็น
คอมพิวเตอร์
-เขียนโปรแกรม
--python
---numpy
---scipy
---matplotlib
---pandas
---manim
---pyqt
---sklearn
---pytorch
---mayapython
--ruby
--javascript
--sql
--regex
--opencv
-shell
-3D
--maya
--MMD
-ปัญญาประดิษฐ์
--โครงข่ายประสาทเทียม
-การสุ่ม
ภาษาศาสตร์
-ตัวอักษร
-เรียนภาษา
-หลักเกณฑ์การทับศัพท์
-ภาษาจีน
--ภาษาจีนกลาง
-ภาษาญี่ปุ่น
-ภาษามองโกล
-ภาษาลาว
-ภาษาเขมร
ประวัติศาสตร์
-ประวัติศาสตร์จีน
-ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
ปรัชญา
บันทึก
เรื่องแต่ง
ประเทศจีน
-จีนแผ่นดินใหญ่
--ปักกิ่ง
--เทียนจิน
--เหลียวหนิง
--เหอเป่ย์
--เหอหนาน
--ซานตง
--ซานซี
--อานฮุย
--เจ้อเจียง
--หูเป่ย์
--หูหนาน
--ฝูเจี้ยน
--กวางตุ้ง
---แต้จิ๋ว
--ยูนนาน
--ซินเจียง
-ฮ่องกง
-มาเก๊า
-ไต้หวัน
--ไทเป
--จีหลง
--เถาหยวน
--ซินจู๋
--เหมียวลี่
--ไถจง
--หยวินหลิน
--เจียอี้
--ไถหนาน
--เกาสยง
--ผิงตง
--อี๋หลาน
ประเทศญี่ปุ่น
-ฮกไกโด
-อาโอโมริ
-อิวาเตะ
-มิยางิ
-อากิตะ
-ยามางาตะ
-ฟุกุชิมะ
-อิบารากิ
-โทจิงิ
-กุมมะ
-ไซตามะ
-จิบะ
-โตเกียว
-คานางาวะ
-นีงาตะ
-โทยามะ
-อิชิกาวะ
-ฟุกุอิ
-ยามานาชิ
-นางาโนะ
-กิฟุ
-ชิซึโอกะ
-ไอจิ
-มิเอะ
-ชิงะ
-เกียวโต
-โอซากะ
-เฮียวโงะ
-นาระ
-วากายามะ
-โอกายามะ
-ฮิโรชิมะ
-ยามางุจิ
ต่างแดน
-อุษาคเนย์
--กัมพูชา
--พม่า
--สิงคโปร์
-ยุโรป
--สวีเดน
--เดนมาร์ก
--ฟินแลนด์
ท่องเที่ยว
-มหาวิทยาลัย
-พิพิธภัณฑ์
--พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
-สวนสัตว์
--พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ
-ท้องฟ้าจำลอง
-ตึกระฟ้า
-ปราสาท☑
--ปราสาทญี่ปุ่น
--ปราสาทขอม
--ปราสาทยุโรป
-ศาสนสถาน
--วัด
--ศาลเจ้า
--โบสถ์
--มัสยิด
-สุสาน
-มรดกโลก
-ทะเล
-ภูเขา
-หิมะ
-ดอกซากุระ
-รถไฟ
-เรือ
-ตลาดกลางคืน
-งานเทศกาล
-ตามรอย
บันเทิง
-เกม
--อาเตอลีเย
--โปเกมอน
--caligula
--vn
-อนิเมะ
-มังงะ
-นิยาย
-เพลง
--เพลงอนิเมะ
--เพลงเกม
ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ
ค้นหาบทความ
บทความล่าสุด
แวะกินซูชิหูฉลามของขึ้นชื่อของเมืองเคเซนนุมะแล้วเข้าชมพิพิธภัณฑ์ฉลาม
ปีนเขาอัมบะสูง ๒๓๙ เมตรชมทิวทัศน์ย่านเมืองริมชายฝั่งเคเซนนุมะ
สวนอธิษฐานฟื้นฟูเมืองเคเซนนุมะ สถานที่รำลึกเหตุการณ์ทสึนามิและชมทิวทัศน์ริมอ่าว
ศาลเจ้าอิสึซึและศาลาลอยน้ำอุกิมิโดวบนแหลมชิมเมย์ในอ่าวเคเซนนุมะ
เมืองเคเซนนุมะ เมืองท่าสุดขอบจังหวัดมิยางิซึ่งฟื้นฟูกลับขึ้นมาหลังคลื่นทสึนามิถล่ม
บทความแนะนำ
ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ
บทความแต่ละเดือน
2023年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2022年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2021年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2020年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2019年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
ค้นบทความเก่ากว่านั้น
ไทย
日本語
中文