φυβλαςのβλογ
บล็อกของ phyblas
ทวีต
พิพิธภัณฑ์เกษตรกรรมจีน (ต่อ)
เขียนเมื่อ 2014/03/17 08:00
แก้ไขล่าสุด 2021/09/28 16:42
#อังคาร 11 มี.ค. 2014
หลังจากที่ตอนที่แล้วไปชมหอจัดแสดงอารยธรรมเกษตรกรรมจีน (中华农业文明馆) มาแล้ว
https://phyblas.hinaboshi.com/20140314
คราวนี้จะไปชมอาคารที่เหลือ
เริ่มจากอาคาร ๗ หอจัดแสดงวิทยาศาสตร์ด้านเกษตรกรรมทั่วไปสำหรับเยาวชน (青少年农业科普馆)
บรรยากาศภายใน อาคารนี้ไม่ใหญ่เท่าไหร่นักหรอก ตรงกลางมีทีวีจอใหญ่ตั้งอยู่
ตรงนี้แสดงอาหารแล้วบอกปริมาณสารอาหาร
อาหารต่างๆที่มีประโยชน์
มีเกมให้เล่นด้วยสำหรับเด็กๆ
เกี่ยวกับการทอผ้า
เปรียบเทียบให้ดูว่าข้าวคุณภาพสูงกับต่ำต่างกันยังไง
เห็ดหูหนูคุณภาพสูงกับต่ำ
ฝ้ายคุณภาพสูงกับต่ำ
มีเกมจิ๊กซอว์ให้เด็กเล่น
บรรยายเกี่ยวกับท้องนา
จอตรงนี้เป็นแผนที่แสดงพื้นที่เพาะปลูกในจีน มีปุ่มควบคุมให้เลือกดูได้ว่าจะดูการปลูกพืชชนิดไหน
เรากดเลือกดูเกี่ยวกับพื้นที่เพาะปลูกข้าวเจ้า มันก็จะอธิบายว่าแต่ละภาคมีการเพาะปลูกข้าวเป็นยังไง แสดงเป็นสีต่างกัน
ตรงนี้ภาพผักผลไม้ต่างๆเต็มไปหมดเลย แสดงให้เห็นว่าผักผลไม้แต่ละชนิดปลูกยังไง
ทางนี้แสดงพวกแมลงที่เป็นประโยขน์ต่อการเกษตร
แมลงที่มีผลเสียต่อผลผลิตทางการเกษตร
แมลงที่เป็นโทษต่อผัก
แมลงที่เป็นโทษต่อผลไม้
ก็หมดแค่นี้ ไม่มีอะไรมาก วนจนครบรอบกลับมาที่เดิม
จากนั้นก็ไปต่อกันที่อาคาร ๘ ซึ่งเป็นหอจัดแสดงตัวอย่างดินจีน (中国土壤标本馆)
เข้ามาด้านในบรรยากาศเป็นแบบนี้
รูปปั้นมือแบกดินตั้งอยู่ด้านหน้าสุด
ในนี้จะมีตัวอย่างดินชนิดต่างๆอยู่มากมาย
มีคำอธิบายดินแต่ละชนิดอย่างละเอียด
แผนที่แสดงดินชนิดต่างๆในจีน แบ่งพื้นที่ตามชนิดดิน
ตรงนี้อธิบายว่าจีนเป็นประเทศแรกที่มีการแบ่งพื้นที่ตามชนิดดินมาตั้งแต่สมัยโบราณ คือตั้งแต่ ๔๑๐๐ ปีก่อนแล้ว
อธิบายเรื่ององค์ประกอบของดิน
เกี่ยวกับการแบ่งดิน
อธิบายเกี่ยวกับลักษณะของดินแต่ละชนิด อธิบายว่าสีของดินที่ต่างกันบอกถึงอะไร
อธิบายการก่อตัวของดิน
ทางนี้อธิบายเรื่องการกัดกร่อนของดิน
การสะสมสารอินทรีย์ภายในดิน
ดินคือรากฐานของระบบนิเวศน์ของโลกนี้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับดิน
ความสำคัญของดินในด้านการเกษตร
ตัวอย่างหินที่จะก่อให้เกิดดิน
ตรงนี้อธิบายความแตกต่างระหว่างอักษรคำว่า ถู่ (土) กับ หร่าง (壤) ซึ่งแปลว่าดินเหมือนกัน ต่างกันตรงที่ว่า 土 หมายถึงดินโดยทั่วไป แต่ 壤 มักจะหมายถึงผืนดินหรือที่ดิน คือดินที่เกี่ยวข้องกับผู้คน
ต่อไปก็มาที่อาคาร ๙ ซึ่งเป็นหอจัดแสดงอุปกรณ์เกษตรกรรมพื้นบ้านจีน (中国传统农具馆)
เข้ามาถึงด้านหน้าสุดเห็นกำแพงที่สลักเป็นภาพแสดงการใช้อุปกรณ์การเกษตรของคนสมัยก่อน
ภายในจัดแสดงพวกอุปกรณ์ต่างๆไว้ มีทั้งในตู้และวางอยู่ด้านนอก คล้ายๆกับที่เห็นมาแล้วในอาคาร ๒
อุปกรณ์จัดการกับเสบียง
อุปกรณ์ตวง
หินโม่
หม้อต้มข้าว
หม้อนวดข้าว
นี่ก็สำหรับนวดข้าว
อุปกรณ์สำหรับบรรจุขนถ่าย
อุปกรณ์เก็บเกี่ยว
อุปกรณ์หว่านเมล็ด และปลูกถ่าย
อุปกรณ์ไถนา
แบบจำลองแสดงการเพาะปลูก
ใช้ควายไถนา
สุดท้ายมาที่อาคาร ๑๐ ซึ่งเป็นหอจัดแสดงเกษตรกรรมโบราณในเครื่องปั้นเคลือบลาย (彩陶中的远古农业馆)
ภายในก็มีเครื่องปั้นเคลือบลายโบราณอยู่มากมายในตู้
ดูแต่ละอันสวยงามดี
จอภาพอธิบายการทำเครื่องปั้น
แบบจำลองแสดงการทำเครื่องปั้นของคนในสมัยก่อน
ที่พื้นมีจำลองการขุดเจอในดินอยู่ใต้กระจก
จบแล้ว ดูครบทั้งหมดทุกอาคาร โดยรวมแล้วก็คิดว่าได้อะไรมากมายทีเดียวนะ เสียดายที่ไม่มีเวลาได้เก็บรายละเอียดมากนัก แต่แค่นี้ก็ใช้เวลาไปถึงสองชั่วโมงครึ่งแล้ว เดินจนเมื่อขาไปหมดเลย
ขอเล่านอกเรื่องเรื่อยเปื่อยต่ออีกนิดว่าหลังจากที่เที่ยวชมที่นี่เสร็จเราก็เดินทางต่อไปยังมหาวิทยาลัยชิงหัวเพื่อรับผลสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น N1 ที่ไปสอบเมื่อธันวาคมปีที่แล้ว ซึ่งเล่าไปใน
https://phyblas.hinaboshi.com/20131201
ผลก็ออกมาว่าผ่านเรียบร้อยตั้งแต่ตอนช่วงเดือนกุมภาพันธ์แล้ว แต่ว่าเพิ่งจะสามารถไปรับใบได้ตอนนี้ ในที่สุดก็ได้มาแล้ว ก็หวังว่าจะได้ใช้ประโยชน์ ถึงจะไม่ได้ใช้อะไรแต่ก็เก็บไว้เป็นความภาคภูมิใจได้และก็แสดงให้เห็นถึงผลจากการพยายามมาโดยตลอด
{{s.chue}}
〇
✖
ทวีต
-----------------------------------------
囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧囧
ดูสถิติของหน้านี้
หมวดหมู่
--
ท่องเที่ยว
>>
พิพิธภัณฑ์
--
ประเทศจีน
>>
จีนแผ่นดินใหญ่
>>
ปักกิ่ง
ไม่อนุญาตให้นำเนื้อหาของบทความไปลงที่อื่นโดยไม่ได้ขออนุญาตโดยเด็ดขาด หากต้องการนำบางส่วนไปลงสามารถทำได้โดยต้องไม่ใช่การก๊อปแปะแต่ให้เปลี่ยนคำพูดเป็นของตัวเอง หรือไม่ก็เขียนในลักษณะการยกข้อความอ้างอิง และไม่ว่ากรณีไหนก็ตาม ต้องให้เครดิตพร้อมใส่ลิงก์ของทุกบทความที่มีการใช้เนื้อหาเสมอ
三
~ เกี่ยวกับเรา ~
สารบัญ
รวมคำแปลวลีเด็ดจากญี่ปุ่น
ภาษา python
มอดูลต่างๆ
-- numpy
-- matplotlib
-- pandas
-- manim
-- opencv
-- pyqt
-- pytorch
การเรียนรู้ของเครื่อง
-- โครงข่าย
ประสาทเทียม
ภาษา javascript
ภาษา mongol
ภาษาศาสตร์
maya
ความน่าจะเป็น
บันทึกในญี่ปุ่น
บันทึกในจีน
-- บันทึกในปักกิ่ง
-- บันทึกในฮ่องกง
-- บันทึกในมาเก๊า
บันทึกในไต้หวัน
บันทึกในยุโรปเหนือ
บันทึกในประเทศอื่นๆ
qiita
บทความอื่นๆ
บทความแบ่งตามหมวด
==เลือกหมวด==
ดาราศาสตร์
คณิตศาสตร์
-ความน่าจะเป็น
คอมพิวเตอร์
-เขียนโปรแกรม
--python
---numpy
---scipy
---matplotlib
---pandas
---manim
---pyqt
---sklearn
---pytorch
---mayapython
--ruby
--javascript
--dart
--MATLAB
--SQL
--regex
--opencv
-shell
-3D
--maya
--MMD
-microsoft_office
-pdf
-ปัญญาประดิษฐ์
--โครงข่ายประสาทเทียม
--สเตเบิลดิฟฟิวชัน
---comfyui
-การสุ่ม
ภาษาศาสตร์
-ตัวอักษร
-เรียนภาษา
-หลักเกณฑ์การทับศัพท์
-ภาษาจีน
--ภาษาจีนกลาง
-ภาษาญี่ปุ่น
-ภาษามองโกล
-ภาษาลาว
-ภาษาเขมร
ประวัติศาสตร์
-ประวัติศาสตร์จีน
-ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
ปรัชญา
ประเทศจีน
-จีนแผ่นดินใหญ่
--ปักกิ่ง
--เทียนจิน
--เหลียวหนิง
--เหอเป่ย์
--เหอหนาน
--ซานตง
--ซานซี
--อานฮุย
--เจ้อเจียง
--หูเป่ย์
--หูหนาน
--ฝูเจี้ยน
--กวางตุ้ง
---แต้จิ๋ว
--ยูนนาน
--ซินเจียง
-ฮ่องกง
-มาเก๊า
-ไต้หวัน
--ไทเป
--จีหลง
--เถาหยวน
--ซินจู๋
--เหมียวลี่
--ไถจง
--จางฮว่า
--หยวินหลิน
--เจียอี้
--ไถหนาน
--เกาสยง
--ผิงตง
--อี๋หลาน
ประเทศญี่ปุ่น
-ฮกไกโด
-อาโอโมริ
-อิวาเตะ
-มิยางิ
-อากิตะ
-ยามางาตะ
-ฟุกุชิมะ
-อิบารากิ
-โทจิงิ
-กุมมะ
-ไซตามะ
-จิบะ
-โตเกียว
-คานางาวะ
-นีงาตะ
-โทยามะ
-อิชิกาวะ
-ฟุกุอิ
-ยามานาชิ
-นางาโนะ
-กิฟุ
-ชิซึโอกะ
-ไอจิ
-มิเอะ
-ชิงะ
-เกียวโต
-โอซากะ
-เฮียวโงะ
-นาระ
-วากายามะ
-โอกายามะ
-ฮิโรชิมะ
-ยามางุจิ
-ฟุกุโอกะ
-ซางะ
-นางาซากิ
-คุมาโมโตะ
-โออิตะ
ต่างแดน
-อุษาคเนย์
--กัมพูชา
--พม่า
--สิงคโปร์
-ยุโรป
--สวีเดน
--เดนมาร์ก
--ฟินแลนด์
-ออสเตรเลีย
ท่องเที่ยว
-มหาวิทยาลัย
-พิพิธภัณฑ์
--พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
--หอศิลป์
-สวนสัตว์
--พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ
-ท้องฟ้าจำลอง
-ตึกระฟ้า
-ปราสาท☑
--ปราสาทญี่ปุ่น
--ปราสาทขอม
--ปราสาทยุโรป
-ศาสนสถาน
--วัด
--ศาลเจ้า
--โบสถ์
--มัสยิด
-สุสาน
-มรดกโลก
-ทะเล
-ทะเลสาบ
-ภูเขา
-หิมะ
-ดอกซากุระ
-แมว
-รถไฟ
-เรือ
-ตลาดกลางคืน
-งานเทศกาล
-ที่ระลึกภัยพิบัติ
-ตามรอย
บันเทิง
-เกม
--อาเตอลีเย
--โปเกมอน
--caligula
--vn
-อนิเมะ
-มังงะ
-นิยาย
-เพลง
--เพลงอนิเมะ
--เพลงเกม
เรื่องแต่ง
บันทึก
ติดตามอัปเดตของบล็อกได้ที่แฟนเพจ
ค้นหาบทความ
บทความล่าสุด
เดินเล่นริมฝั่งทะเลเบปปุยามเช้า มีหาดทรายนิดหน่อย
ปราสาทคิฟุเนะ จุดชมทิวทัศน์ยุเกมุริ เบปปุทาวเวอร์
เบปปุจิโงกุเมงุริ เที่ยวชมอนเซงบ่อนรกที่มีสีสันสวยงามแปลกตาทั้ง ๗ แห่งในเบปปุ
ขึ้นรถกระเช้าเบปปุไปยังยอดเขาทสึรุมิสูง ๑๓๗๕ เมตร มองเห็นเมืองเบปปุริมฝั่งทะเลจากมุมสูง
เดินไปตามถนนยุโนะทสึโบะ ชมยุฟุอิงฟลอรัลวิลเลจ แวะกินตามข้างทางไปเรื่อย
บทความแนะนำ
ตัวอักษรกรีกและเปรียบเทียบการใช้งานในภาษากรีกโบราณและกรีกสมัยใหม่
ที่มาของอักษรไทยและความเกี่ยวพันกับอักษรอื่นๆในตระกูลอักษรพราหมี
การสร้างแบบจำลองสามมิติเป็นไฟล์ .obj วิธีการอย่างง่ายที่ไม่ว่าใครก็ลองทำได้ทันที
รวมรายชื่อนักร้องเพลงกวางตุ้ง
ภาษาจีนแบ่งเป็นสำเนียงอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ทำความเข้าใจระบอบประชาธิปไตยจากประวัติศาสตร์ความเป็นมา
เรียนรู้วิธีการใช้ regular expression (regex)
การใช้ unix shell เบื้องต้น ใน linux และ mac
g ในภาษาญี่ปุ่นออกเสียง "ก" หรือ "ง" กันแน่
ทำความรู้จักกับปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง
ค้นพบระบบดาวเคราะห์ ๘ ดวง เบื้องหลังความสำเร็จคือปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หอดูดาวโบราณปักกิ่ง ตอนที่ ๑: แท่นสังเกตการณ์และสวนดอกไม้
พิพิธภัณฑ์สถาปัตยกรรมโบราณปักกิ่ง
เที่ยวเมืองตานตง ล่องเรือในน่านน้ำเกาหลีเหนือ
ตระเวนเที่ยวตามรอยฉากของอนิเมะในญี่ปุ่น
เที่ยวชมหอดูดาวที่ฐานสังเกตการณ์ซิงหลง
ทำไมจึงไม่ควรเขียนวรรณยุกต์เวลาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ
บทความแต่ละเดือน
2024年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2023年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2022年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2021年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
2020年
1月
2月
3月
4月
5月
6月
7月
8月
9月
10月
11月
12月
ค้นบทความเก่ากว่านั้น
ไทย
日本語
中文